ความสัมพันธ์ระหว่าง การประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา

PR & AD Relationships
เขียนโดยผศ. ดร. พราว
Written by Asst. Prof. Dr. Proud Arunrangsiwed | Oct 10, 2020

**โพสนี้เขียนโดย ผศ. ดร. พราว อรุณรังสีเวช หากพบการละเมิดลิขสิทธิ์ จะทำการแจ้งความและดำเนินคดีให้ถึงที่สุด

PR & AD Relationships

Preface

อาจารย์พราว พูดถึงการประชาสัมพันธ์ (Public Relationships) มาหลายเรื่อง แต่หลายคนน่าจะสงสัยว่า แล้วการประชาสัมพันธ์ (Public Relationships, PR) กับการโฆษณา (Advertising, AD) ต่างกัน (Different) คล้ายกัน (Similar to) เหมือนกัน (The same as) หรือสัมพันธ์กันอย่างไร (Related to) ดังนั้นหัวข้อนี้จึงสามารถแบ่งออกเป็น 4 ข้อดังนี้

1. ความเหมือนกันของ (Public Relationships vs advertising look the same)
2. ความคล้ายกันของ (Public Relationships vs advertising are similar)
3. ความต่างของ (Public Relationships vs advertising are different)
4. ความสัมพันธ์กันของ PR vs AD (Related to each others)

PR & AD Relationships

ตัวอย่างสนับสนุน ความเหมือน ความคล้าย ความสัมพันธ์ ความต่างของ PR vs AD

(1) ความเหมือนกันและความคล้ายกันระหว่าง PR vs AD ได้แก่ (The following are what PR is the same and/or is similar to Advertising) ตัววอย่างเช่น
PR & AD purposes are nearly the same.

อาจารย์พราว ต้องการชี้ให้เห็นว่า การประชาสัมพันธ์กับการโฆษณามีวัตถุประสงค์เหมือนกัน (The same purposes) คล้ายหรือใกล้เคียงกัน (or nearly the same) คือช่วยการตลาด และ ทำเพื่อองค์กร (Support the marketing and the corporate)

(2) ความต่างของการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ได้แก่ (The different of Public relations and advertising)
PR & AD support marketing but a little bit different

Lect. Proud can say that PR purposes are all for marketing and the organization as well as AD but there are some differences; lect. Proud will give examples below.
ในที่นี้อาจารย์พราวจะบอกว่าแม้วัตถุประสงค์ (Objectives/Purposes/Targets) ของ PR vs AD คล้ายกันเพื่อฝ่ายการตลาด และเพื่อองค์กร แต่ก็ต่างกันบ้าง (A little bit different)

PR & AD Relationships

อาจารย์พราว ได้พูดเรื่องผังการจัดองค์กรไปแล้ว จะเห็นได้ว่าบางองค์กร (Corporate) ทั้งการประชาสัมพันธ์ (Public relations, PR) และการโฆษณา (Advertising, AD) เป็นส่วนหนึ่งของการตลาด (Marketing) ตามผังการจัดองค์กร (Organization chart of the business) อาจารย์พราว ต้องการบอกในที่นี้ก็คือ การประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา ต่างมีวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งร่วมกันคือ สนับสนุนการตลาดขององค์กร (Support marketing) และองค์กรเอง (Support the corporate) แต่ต่างกันที่การให้ความสำคัญ ดังนี้

(1) การประชาสัมพันธ์ (Public relations)

– PR ให้ความสำคัญที่ภาพรวม (Lect. Proud used to post that Public relations concentrate in the whole company and the Image of company’s products)
– PR สื่อสารให้ผู้รับที่กว้างกว่าการโฆษณา (Lect. Proud states that Public relations communicate to many people not only customers such as shareholders, government, ministry, ect.)
– PR ประชาสัมพันธ์เป็นระยะเวลาตลอดไป (Lect. Proud also posts about Public relations which function their duties as long as the company going concern)

(2) การโฆษณา (Advertising)

– AD ให้ความสำคัญที่ตัวสินค้า จำนวนคนผู้รับสารที่เป็นกลุ่มเล็กกว่า เจาะจงกลุ่มเป้าหมายตามโปรแกรมที่ฝ่ายการตลาดกำหนดไว้ (Advertising build brands and communicate to their target customers)
– AD ทำหน้าที่โฆษณาตามโครงการตามช่วงเวลาที่ต้องรณรงค์ หรือ โฆษณาเพื่อผลิตภัณฑ์เป็นช่วง ๆ ตามที่ฝ่ายการตลาดกำหนด (Advertising space advertise their products to launch their products according to the product campaign)

อาจารย์พราวสรุปได้ว่าความสัมพันธ์ระหว่างการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ใกล้กันมาก จนบางงานอาจดูแล้วซ้ำซ้อนกัน
Lect. Proud can conclude that PR are close to AD and sometimes look like duplicate functions.

1 Comment

Filed under Eng2, Uncategorized

One response to “ความสัมพันธ์ระหว่าง การประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา

  1. Pingback: หากการศึกษาไร้ค่า จะเรียนไปหาอะไร? จ้างคนอื่นเรียนแทนสิ! Part 1 | Sw-Eden.NET

Leave a Reply ถาม หรือ แสดงความคิดเห็น

Fill in your details below or click an icon to log in:

WordPress.com Logo

You are commenting using your WordPress.com account. Log Out /  Change )

Facebook photo

You are commenting using your Facebook account. Log Out /  Change )

Connecting to %s

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.