Characteristics of Excellence Public Relations
เขียนโดยผศ. ดร. พราว
Written by Asst. Prof. Dr. Proud Arunrangsiwed | Oct 11, 2020
**โพสนี้เขียนโดย ผศ. ดร. พราว อรุณรังสีเวช หากพบการละเมิดลิขสิทธิ์ จะทำการแจ้งความและดำเนินคดีให้ถึงที่สุด
Preface
อาจารย์พราว ได้เขียนเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ไปหลายเรื่อง ได้แก่ Public Relations ควรอยู่จุดใดในองค์กร; วิธีการใช้สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์; 12 ทักษะของการประชาสัมพันธ์; ปัญหาของการประชาสัมพันธ์; PR หนึ่งใน 9Ps Marketing Mixed Model; ความสัมพันธ์ระหว่าง การประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา และการตลาด เป็นต้น
บทนี้อาจารย์พราว จะพูดถึงลักษณะการประชาสัมพันธ์ที่เป็นเลิศ (Characteristics of Excellence Public Relations) แม้ว่าในการทำงานจริง (Real working life) อาจารย์พราวคิดว่านักประชาสัมพันธ์ (Public relations officers) อาจรู้สึกยากที่จะไปสู่ความเป็นเลิศของสายอาชีพหรือด้านการประชาสัมพันธ์ได้ (Excellence in PR) อาจารย์พราวก็ยังหวังว่า อย่างน้อยการทำงานด้านการประชาสัมพันธ์ให้เป็นเลิศสามารถทำได้บางข้อ หรือได้เกือบทุกข้อ แต่อาจไม่ได้เต็มร้อยทั้งหมดก็ตาม
Lect. Proud believes that in real working life, PR officers can reach some or over all of these Characteristics of Excellence Public Relations.
ฟิลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler)
Philip Kotler ถือว่าเป็นบิดาแห่งการตลาดยุคใหม่ (He is known as the father of modern marketing) มองว่าการประชาสัมพันธ์ถือเป็นส่วนประกอบอย่างง่ายในส่วนผสมทางการตลาด (Marketing mix)
อาจารย์พราวถือว่าการประชาสัมพันธ์มีความสำคัญทั้งด้านการส่งเสริมด้านการตลาด และมีความสำคัญอย่างมาก ต่อองค์กร (PR is very important to the organization or corporate or business of company) ดังที่อาจารย์พราวเคยพูดแล้วในส่วนอื่นเพราะ PR ช่วยสร้างภาพลักษณ์สร้างชื่อเสียงให้องค์กรส่วนรวม (PR helps built the image and reputation for the company) ดังนั้นอาจารย์พราวจึงต้องการให้เห็นว่าการทำงานของ PR ที่ดีเลิศควรมีลักษณะอย่างไร
7 ลักษณะการประชาสัมพันธ์ที่เป็นเลิศ
7 Characteristics of Excellence Public Relations
1.สร้างประสิทธิผลแก่องค์กร (Make effective)
อาจารย์พราว คิดว่าการประชาสัมพันธ์ที่ดี ต้องสร้างประสิทธิผลแก่องค์กร (Effectiveness to the organization) คือได้ผลตามเป้าหมาย (Targets) ไม่ใช่เพียงแต่ทำให้เสร็จในเวลาที่กำหนด (Action ontime) หรือประสิทธิภาพ (Efficiency) PR เป็นหน่วยงานที่ไม่ได้หากำไร (nonprofit) ซึ่งควรวัดผลงานได้ด้วย
Lect. Proud sees that good Public relations can make organizations more effective not only efficiency. PR is a nonprofit function and its activities have to be measured.
2.สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีแก่องค์กร (Make good environments)
Here, lect. Proud wants to tell about the excellent PR should make organizations environments good or better.
3.ข้อมูลงานหรือเนื้อหามีสาระและจริง
อาจารย์พราวอยากเพิ่มเติมเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ที่ดีว่า เนื้อหาของงาน (PR’s contents) ต้องมีสาระ (substantive) และอิงกับข้อเท็จจริง (Based on fact which is not the same as advertising)
Lect. Proud emphasizes the PR’s contents should be substantive and must be based on the fact too.
4.เนื้อหาการประชาสัมพันธ์สั้นกะทัดรัด และง่ายแก่การเข้าใจ
Lect. Proud will add more about PR’s contents that should make short and simple contents.
5.เติมเต็มภาพลักษณ์บริษัทและแบรนด์
Lect. Proud points out that Public relations complements marketing and advertising functions Make brands visibility
6.ทำงานให้เป็นปัจจุบัน
Lect. Proud recommends PR should keep it current.
7.PR ต้องไม่พลาดโอกาส
Lect. Proud can conclude that PR should keep it current but don’t miss any chances, too.