Category Archives: Eng2

ข้อดีข้อเสียของสื่อเก่า และสื่อใหม่

Pros and Cons of Media
เขียนโดยผศ. ดร. พราว
Written by Asst. Prof. Dr. Proud Arunrangsiwed| Oct 6, 2020

**โพสนี้เขียนโดย ผศ. ดร. พราว อรุณรังสีเวช หากพบการละเมิดลิขสิทธิ์ จะทำการแจ้งความและดำเนินคดีให้ถึงที่สุด

Preface

โพสนี้ อาจารย์ พราว จะพูดถึงข้อดีข้อเสียของสื่อที่การประชาสัมพันธ์ ใช้เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ PR ต้องการสื่อสารให้ผู้รับสื่อ Lect. Proud presents in the other posts about the Public Relations communicate to others via analogue media and digital media.

In this post, Lect. Proud will present about pros and cons between 2 media which are analogue media and digital media. However, Lect. Proud will explain about the definitions of both media before pros and cons of these two media.

Digital media and Analogue media

Definition of media
ความหมายของสื่อยุคเก่า และ สื่อดิจิทอล

Analogue Media
Lect. Proud understands that Analogue media is a traditional media that can transmit data to the receivers via physical objects such as television, radio, tape cassette, letter, leaflet, brochure, newspaper, billboard, and movie.


Pros of Analogue Media

อาจารย์พราว อยากพูดในด้านดี ของ Analogue media ว่า Analogue media ทำให้คนเก็บข้อมูลไว้ได้ และบางสื่อที่คนผ่านซ้ำ ๆ จะสามารถจดจำได้ดี อีกทั้งไม่ต้องใช้กับอินเตอร์เน็ท หรือ แอพพลิเคชั่น ต่าง ๆ

1. Analogue media can be with the receivers as hard copies such as letter, leaflet, brochure and newspaper.
2. Lect. Proud receives data via analogue media without internet or application.
3. Lect. Proud thinks that people can easily remember the analogue media if the data transmitted via television and movie.
4. Lect. Proud believes that if PR communicates the data via analogue media in big billboard, the receivers can easily remember when they drive or pass such billboard. Lect. Proud means that the billboard action as a nonverbal communication and repeat the data to the people whenever they pass that advertisement over and over again.

Digital media and Analogue media

Cons of Analogue Media

ด้านไม่ดีของ Analogue media เป็นความเห็นส่วนตัวของ อาจารย์พราว คือ

1. เป็นสื่อทางเดียว อาจารย์พราว พูดได้ว่า Analogue media is one-way communication that does not know the audiences’ respond suddenly.
2. Lect. Proud opinion is Analogue media will take higher cost to produce including the high cost to communicate.
3. Analogue media take times to create.

Digital Media
Lect. Proud knows this digital media as a new media which has to be used with some especial technology instruments such as Smart Phone and others that equipped with various additional features for using with internet and some applications. สื่อใหม่มีข้อดีดังนี้

Pros
1. Lect. Proud like digital media because the media can be used communicate very fast.
อาจารย์พราว ชอบสื่อใหม่ (New media) ตรงที่รับรู้เนื้อหาที่ต้องการ PR ได้ทันที และพร้อมกับผู้อื่นด้วย
2. Receivers can access the media easily and fast via Smart Phones or other instruments connecting through internet. อาจารย์พราว หมายถึง
3. Moreover, digital media under Lect. Proud’s idea will get feedback from the receivers suddenly by the key of like, unlike, sharing and comments, etc.
อาจารย์พราว หมายถึง PR จะรู้ผลตอบรับจากผู้บริโภคทันที ด้วยการกดถูกใจ หรือไม่ถูกใจ กดแชร์ และ comments รวมถึงยอดวิวของผู้ชม
4. Lect. Proud believes that PR will know the amount of receivers or customers who access new media or digital media.
อาจารย์พราวคิดว่าสื่อใหม่จะทำให้ PR รู้ได้ทันที ว่ามีผู้บริโภครับรู้ข้อมูลข่าวสารจำนวนเท่าไร จากยอดวิว

Digital media and Analogue media

Cons
1. Lect. Proud thinks that some old generations cannot access the data via digital media.
อาจารย์พราว เล็งเห็นข้อจำกัดในการเข้าถึงสื่อดิจิทอล ซึ่งเป็นสื่อใหม่ คนรุ่นเก่าที่ไม่ค่อยได้ใช้ internet คนที่ไม่ชอบ Social media จะถูกจำกัดเรื่องการเข้าถึงข้อมูล
2. Lect. Proud thinks that the digital media is always up to date, therefore what’s in hand will be easily out of date.
อาจารย์พราวเชื่อว่า Digital media มีการพัฒนาอยู่เรื่อย ๆ และเร็วด้วย เพราะความก้าวหน้า ความรวดเร็วของระบบเทคโนโลยี และสื่อประสม (Multimedia) ทำให้การออกแบบ PR อาจล้าสมัยได้ง่าย
3. To take digital media, PR may have to use some programs to complete it which is not easily and some have to hire outside company to complete it.
บางครั้งต้องมีการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้กับสื่อ Digital media อาจยุ่งยากและทำให้การสื่อสารยากขึ้น

Leave a comment

Filed under Eng2, Everything_Okay

วิธีการใช้สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์

How to use media for Public Relations
เขียนโดยผศ. ดร. พราว
Written by Asst. Prof. Dr. Proud Arunrangsiwed| Oct 5, 2020

**โพสนี้เขียนโดย ผศ. ดร. พราว อรุณรังสีเวช หากพบการละเมิดลิขสิทธิ์ จะทำการแจ้งความและดำเนินคดีให้ถึงที่สุด

Public Relations

Preface
โพสนี้อาจารย์พราวพูดถึงกระบวนการผลิตงานการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ โดยอาจารย์พราวกำหนดขอบเขตการประชาสัมพันธ์โดยทั่วไปในองค์กรหนึ่ง ๆ จะมีการประชาสัมพันธ์ 2 แบบโดยดูจากผู้รับข่าวประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อองค์กร คือ
1. เพื่อคนภายในองค์กร (Insiders)
2. เพื่อคนภายนอกองค์กร (Outsiders)

Lect. Proud can say that the normal purposes of Public Relations are created for 2 people groups who should have more power in the organization. These people, Lect. Proud will call them the insiders and the outsiders.

Public Relations

Media to present the PR news

อาจารย์พราวให้ความสำคัญเรื่องการประชาสัมพันธ์ ทั้ง 2 ด้านคือ กระบวนการผลิตเนื้อหาเพื่อการประชาสัมพันธ์ และ อาจารย์พราวก็ไม่ลืมเรื่องการสื่อสารแก่เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และบางเรื่องที่ต้องการสื่อสารก็ต้องการประสิทธิผลด้วย

Lect. Proud concentrates not only the PR contents but also how to communicate via media with efficiency and sometimes must be included with effectiveness. Actually, Lect. Proud will take attention to the contents of the

For the media to present PR news to them can produce via 2 media which are Analogue Media and Digital Media. Again, Lect. Proud will tell about the pros & cons of these 2 media in the next chapter.

Nowadays, Lect. Proud see many media PR have to communicate their data to the targets such as television, movies, comic books and via social network. The important issue is how PR handles the channels of communication.

กระบวนการผลิตงานการประชาสัมพันธ์เพื่อผ่านช่องทางสื่อ 2 แบบคือ
1. Analogue Media
2. Digital Media

Here below, Lect. Proud will give the short definition of the media for Public Relations to use as PR’s tools.
อาจารย์พราวรู้จัก สื่อแบบเก่า (Analogue Media) มานาน เพราะอาจารย์พราวเกิดมากก็เห็นทางบ้านใช้ และบางสื่อ (medium) ทางบ้านของอาจารย์พราวเป็นสมาชิกเสียด้วย เช่น สมาชิกหนังสือพิมพ์ โพสต์ทูเดย์ ซึ่งปัจจุบันก็ปิดตัวไปแล้ว เหลือแต่การเป็นสมาชิก online ที่ผ่านสื่อใหม่นั่นเอง (Digital Med)

Public Relations

1. Analogue Media
Lect. Proud knows this media as a traditional media which PR uses for a long time about 50 years ago and no need to have internet uses. Lect. Proud will give some examples for analogue media such as television, radio, tape cassette, letter, leaflet, brochure, newspaper, billboard, and movie.

อาจารย์พราวเกิดในยุคที่มี Digital Media แล้ว ทำให้อาจารย์พราวไม่ค่อยสัมผัสกับ Analogue Media ยกเว้นการอ่านหนังสือผ่าน หนังสือจริง อาจารย์พราว ชอบมากกว่าที่จะอ่านหรือรับรู้ข่าวสารผ่าน New media หรือผ่าน internet

2. Digital Media
Lect. Proud knows this media as a new media which has to be used with some especial technology instruments such as Smart Phone and others that equipped with various additional features for using with internet and some applications.

อาจารย์พราว ชอบสื่อใหม่ (New media) ตรงที่รับรู้เนื้อหาที่ต้องการ PR ได้ทันที และพร้อมกับผู้อื่นด้วย อีกทั้งยังสนองกลับ (feeds back) ได้ทันทีด้วยเช่นกัน

In Conclusion
Lect. Proud will conclude that both of media either Analogue Media or Digital Media are the tools for PR to use as one of the strategies to communicate the organization purposes but the content is also important which should be straight to the point and keep it short, simple and clearly.

Leave a comment

Filed under Eng2, Uncategorized

ข้อดีข้อเสีย ของผังองค์กร PR ขึ้นกับฝ่ายบุคคล

Pros and Cons of PR is under HR
เขียนโดยผศ. ดร. พราว
Written by Asst. Prof. Dr. Proud Arunrangsiwed | Oct 5, 2020

**โพสนี้เขียนโดย ผศ. ดร. พราว อรุณรังสีเวช หากพบการละเมิดลิขสิทธิ์ จะทำการแจ้งความและดำเนินคดีให้ถึงที่สุด

Public Relations

Preface

บทนำเกี่ยวกับโพสนี้ อาจารย์ พราว อรุณรังสีเวช จะพูดเรื่องข้อดี ข้อเสีย ของการที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ตามผังการจัดองค์กรที่ให้ การประชามสัมพันธ์ขึ้นอยู่กับฝ่ายบุคคล ว่ามีข้อดี ข้อเสียอย่างไร ซึ่งก็คือ Pros & Cons of the Organization Charts that Public Relations is under the Personnel or Human Resource, HR.

อาจารย์ พราว เขียนว่า “Pros & Cons” is come from Latin which is meant “in favour of” or; “against”.

Public Relations under the Personnel or Human Resource
Pros
อาจารย์พราว คิดว่าฝ่ายบุคลากร ต้องการให้บริษัทมีภาพลักษณ์ที่ดี แม้แต่เวลาที่รับสมัครพนักงาน HR ก็จะพูดด้านดี ๆ According to some personnel functions looked like Public Relations, so whenever PR take action should be followed HR too. Thus, Lect. Proud sees some company charts set the Personnel department to responsible for PR too.

Public Relations

Moreover, HR department always know the exact company objectives, so when PR report to HR, the PR’s direction should be correct and go on through the right way on the right purposes. Lect. Proud thinks that if the company image is good, HR will easily work too. HR will love to have Public Relations under them.

Cons
อาจารย์พราวยังคิดถึงข้อเสียที่ PR อยู่กับฝ่ายบุคคลแล้วอาจไม่มีความคิดสร้างสรรค์ในด้านการตลาด PR may not have creative thoughts as PR should be, because PR will only follow HR. This is just from Lect. Proud’s thought because even there are both pros and cons but it’s up to which is better to the organization

Public Relations

In Conclusion

Lect. Proud considers that the positioning of Public Relations is very important. The management should think and plan carefully to set the proper organization. In conclusion following by Ajarn Proud’s description about the positions of PR, Ajarn Proud feels confident that students will realize which company should set or plan to who PR should report.
กล่าวคือ เมื่อเข้าใจความสำคัญ อาจารย์พราวอยากให้เข้าใจตำแหน่งที่เหมาะสมของ Public Relations ว่า ควรอยู่จุดไหนในผังการจัดองค์กรแล้ว ถ้านักศึกษาจำเป็นต้องทำหน้าที่บริหารการจัดองค์กร หรือต้องวางแผนโครงสร้างบริษัท หรือเป็นองค์กรของนักศึกษาเอง ข้อมูลในโพสนี้น่าจะช่วยให้ตัดสินใจเร็วขึ้น

Public Relations

Leave a comment

Filed under Eng2, Uncategorized

ข้อดีข้อเสีย ของ Public Relations ที่ขึ้นกับฝ่ายการตลาด

Pros and Cons of PR report to Marketing
เขียนโดยผศ. ดร. พราว
Written by Asst. Prof. Dr. Proud Arunrangsiwed | Oct 4, 2020

**โพสนี้เขียนโดย ผศ. ดร. พราว อรุณรังสีเวช หากพบการละเมิดลิขสิทธิ์ จะทำการแจ้งความและดำเนินคดีให้ถึงที่สุด

Public Relations

Preface

อาจารย์ พราว อรุณรังสีเวช เขียนโพสนี้เกี่ยวกับข้อดี ข้อเสีย ของการที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ขึ้นอยู่กับความรับผิดชอบของฝ่ายการตลาด หรือภาษาอังกฤษใช้ว่า Pros & Cons of the Organization Charts that PR report to the marketing อาจารย์ พราว ใช้คำว่า “Pros & Cons” หรือข้อดีข้อเสียนั่นเอง ซึ่งขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ปัจจัยอื่นของแต่ละองค์กรด้วย

The word “Pro” is come from “pro et contra” which is meant “in favour of” or good and “Con” is come from “contra” or against or not good until bad. Pros & Cons are Latin language but many people love to use it even English themselves.

Public Relations is under the Marketing Department

Pros
ในโพสนี้อาจารย์พราว คิดว่าผังการจัดองค์กรกรณีนี้ ฝ่ายการตลาดจะรู้สึกว่า สะดวก รวดเร็ว เพราะสามารถคุมการประชาสัมพันธ์ได้ ไม่ว่าจะแนวทาง เนื้อหา งบประมาณ ระยะเวลา และช่วงเวลาที่ต้องการประชาสัมพันธ์ได้ดี เป็นต้น

Public Relations

อาจารย์พราวยังเห็นว่า ฝ่ายการตลาดยังรู้ผลสะท้อนได้เร็ว โดยตรงจากการประชาสัมพันธ์แต่ละโครงการที่ได้ประชาสัมพันธ์ออกไป โดยอาจารย์พราว เขียนเป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ให้ความสำคัญที่ความหมาย อาจารย์พราว ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแปลคำต่อคำ

Lect. Proud thinks that marketing department will like this organization chart that PR is under the marketing. Lect. Proud will give the reasons as follows:

(1) Lect. Proud’s opinion is that it’s easily for marketing to control PR budget.
(2) Lect. Proud could confirm that marketing can use PR as their tools to cheer up the products.
(3) The grand revenue of a company comes from selling. Sell and marketing are really closed departments; therefore if marketing is responsible for PR, any action related to PR will be rapidly acted.

Public Relations

Cons
อาจารย์พราวคิดว่าบางครั้งอาจเกิดกรณีที่เมื่อฝ่ายประชาสัมพันธ์ขึ้นกับฝ่ายการตลาด เมื่อฝ่ายอื่นต้องการงานประชาสัมพันธ์ อาจทำให้ฝ่ายประชาสัมพันธ์ไม่ได้ให้ความสำคัญ หรืออาจไม่ทำให้ทันการณ์ ทันเวลาที่ฝ่ายนั้น ๆ ต้องการ

Lect. Proud’s opinion is when PR function is under the marketing department, for a long time PR will not play their roles as a professional function. Lect. Proud will say that Public Relations may consider only product and profit instead of the whole company’s image as well as the social responsibility.
Lect. Proud believes that when others want or need PR to function for them, PR may not take action quickly or in time as they want.

Leave a comment

Filed under Eng2, Uncategorized

ข้อดีข้อเสีย ของผังองค์กรแบบ PR report to the Budget and Planning

Pros and Cons of PR report to the Budget and Planning
เขียนโดยผศ. ดร. พราว
Written by Asst. Prof. Dr. Proud Arunrangsiwed | Oct 4, 2020

**โพสนี้เขียนโดย ผศ. ดร. พราว อรุณรังสีเวช หากพบการละเมิดลิขสิทธิ์ จะทำการแจ้งความและดำเนินคดีให้ถึงที่สุด

Public Relations Organization

Preface

บทนำเกี่ยวกับโพสนี้ อาจารย์ พราว อรุณรังสีเวช มองหาข้อดีข้อเสียของการประชาสัมพันธ์ที่รายงานตรงต่อฝ่ายวางแผนและงบประมาณ ว่ามีข้อดี ข้อเสียอย่างไร ซึ่งก็คือ Pros & Cons of the Organization Charts that PR report to the Budget and Planning โดย อาจารย์ พราว ใช้คำว่า “Pros & Cons” เหมือนบทอื่น หรือข้อดีข้อเสีย นั่นเอง

The word “Pro” is come from “pro et contra” which is meant “in favour of” or good and “Con” is come from “contra” or against or not good until bad. Pros & Cons are Latin language but many people love to use it even English themselves.

ตามที่อาจารย์ พราว ได้พูดเกี่ยวกับ Organization Chart หรือผังการจัดองค์กรที่การประชาสัมพันธ์ขึ้นกับฝ่ายบริหารคือประธานองค์กรโดยตรง ในที่นี้อาจารย์พราวจอพูดถึงผังองค์กรแบบที่ PR ขึ้นกับฝ่ายงบประมาณและแผนงาน

Hereunder are the Pros and Cons of one kind of the organization charts about PR. Lect. Proud would recommend about the organization that Public Relations report to the Budget and Planning department. Every pro and con is up to the condition, the criteria that companies should consider by themselves.

Public Relations function

ตอนนี้อาจารย์พราวจะพูดถึงข้อดีข้อเสียของผังองค์กรที่ PR ขึ้นกับฝ่ายงบประมาณและแผนงาน เพื่อองค์กรจะได้มีอะไรไว้ตัดสินในตามนี้

Public Relations under the Budget and Planning department
Pros
อาจารย์พราวเห็นบางองค์กรที่มีฝ่ายวางแผนและงบประมาณ จะให้ Public Relations ขึ้นกับฝ่ายนี้ เนื่องจากงบของการประชาสัมพันธ์เป็นงบค่อนข้างสูง เพราะนิยมประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ (Media) ต่าง ๆ ซึ่งเป็นรายจ่ายจำนวนมาก สื่อบางอย่างคิดรายได้เป็นวินาทีด้วย ทำให้ฝ่ายประชาสัมพันธ์มาขึ้นกับหน่วยงานนี้ แล้วจึงปันส่วนยอดใช้จ่ายประชาสัมพันธ์ไปตามหน่วยงานอื่น ๆ

แต่บางองค์กรที่อาจารย์พราว เคยเห็นก็มีกรณีที่ถือว่า PR ทำเพื่อหน้าตาหรือส่วนรวมขององค์กรด้วย ดังนั้นจึงควรอยู่ในฝ่ายงบประมาณและแผน เพื่อจะได้สอดคล้องกับแผนของบริษัทอย่างใกล้ชิด

Lect. Proud used to see PR function is under the department of budgeting and planning. Lect. Proud knows that PR’s budgeting objectives are for the whole company image not for one department or any function. Therefore this PR budget should be under the budget and planning department to be the center for all units.

Public Relations function

Cons
การประชาสัมพันธ์บางเรื่องเกี่ยวข้องโดยตรงกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท ถ้าให้ขึ้นกับฝ่ายแผน อาจจะทำให้การลงทุนประชาสัมพันธ์เหมือนตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ เพราะไม่ตรงประเด็น โดยเฉพาะอย่างในธุรกิจที่ขนาด SME หรือ และทำให้การคิดต้นทุน ค่าใช้จ่ายผลิตภัณฑ์ต่ำไปได้ เป็นต้น

For Small and Medium Enterprises or Lect. Proud will say it as SME business which most PR objectives are for special purpose such as for selling a company’s product. It’s not fair for other departments to subsidies PR budget as their cost. Moreover, Lect. Proud also feel afraid that the PR purpose may function under wrong objectives. Lect. Proud thinks that when PR function wrongly, PR will hurt the company instead of make benefit.

Leave a comment

Filed under Eng2, Uncategorized

ข้อดีข้อเสีย ของผังองค์กร PR ขึ้นโดยตรงกับประธาน

PR report to President
เขียนโดยผศ. ดร. พราว
Written by Asst. Prof. Dr. Proud Arunrangsiwed | Oct 4, 2020

**โพสนี้เขียนโดย ผศ. ดร. พราว อรุณรังสีเวช หากพบการละเมิดลิขสิทธิ์ จะทำการแจ้งความและดำเนินคดีให้ถึงที่สุด

Public Relations function

Preface

บทนำเกี่ยวกับโพสนี้ อาจารย์ พราว อรุณรังสีเวช จะพูดเรื่องข้อดี ข้อเสีย ของการที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ตามผังการจัดองค์กรทั้ง 4 แบบว่าขึ้นอยู่กับประธานบริษัท หรือประธานบริษัทกำกับดูแล PR ว่ามีข้อดี ข้อเสียอย่างไร ซึ่งก็คือ Pros & Cons of the Organization Chart that PR report to president โดย อาจารย์ พราว ใช้คำว่า “Pros & Cons” หรือข้อดีข้อเสียที่คนทั่วไปนิยมใช้กัน

Public Relations ขึ้นกับประธานบริษัท

The word “Pro” is come from “pro et contra” which is meant “in favour of” or good and “Con” is come from “contra” or against or not good until bad. Pros & Cons are Latin language but many people love to use it even English themselves.
ตามที่อาจารย์ พราว ได้พูดเกี่ยวกับ Organization Chart หรือผังการจัดองค์กร จะเห็นได้ว่า
(1) Some Organization Charts have PR as a small unit or function (บางผังการจัดองค์กร มี Public Relations เป็นหน่วยงานเล็ก ๆ)
(2) Lect. Proud can say that some Organization Charts have PR as an important function and some have the PR function report directly to the President of the organization. (บางผังองค์กร จำเป็นต้องมี Public Relations เป็นหน่วยงานใหญ่ และบางทีขึ้นกับประธานเลย)

Public Relations Roles

Pros & Cons of the Organization Charts that PR report to the president

Now, Lect. Proud will point out pros and cons of the organization that Public Relations report to the president as follows.

Pros
(1) PR is an important tool for management to organize a company.
อาจารย์พราว ให้ PR เป็นเครื่องมือสำคัญอันหนึ่งของผู้บริหารในการจัดการองค์กร
(2) PR will help good looking in company image not only for insiders but also outsiders.
อาจารย์พราว ยังคิดว่า PR ช่วยสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร
(3) PR will function themselves for very department.
เมื่อระดับเบอร์หนึ่งขององค์กรให้ความสำคัญกับหน่วยงาน PR อาจารย์พราวจะเห็นฝ่าย PR ทำหน้าที่ประชาสัมพันธ์โดยคำนึงถึงทุก ๆ ฝ่าย ไม่ใช่เอาใจเพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เช่นเอาใจแต่ฝ่ายการตลาด เป็นต้น

Public Relations Roles

Therefore, Lect. Proud would like to say that if PR is under the company president; PR will get the company policy and objectives directly from the president. It’s no need for PR to receive the policy via other sources which easily misunderstood.

อาจารย์พราวหมายถึง ถ้า PR อยู่ใต้ประธานบริษัท จะทำให้ได้รับนโยบายโดยตรง และได้รับแผนงานของบริษัทอย่างเข้าใจจากประธานบริษัท ไม่ใช่ต้องผ่านคนอื่น ผ่านสื่อหรือส่วนอื่น ๆ ซึ่งง่ายแก่การเข้าใจผิดได้ เพราะมนุษย์มักตีความตามความเข้าใจของตนเอง

Cons
อาจารย์พราวคิดว่า บางครั้งอาจขเกิดความไม่คล่องตัว และอาจทำงานล่าช้า อาจารย์พราวรู้ดีว่าโดยทั่วไป ประธานกรรมการส่วนมากจะมีงานมาก และใช้สมองเรื่องการบริหารเสียส่วนใหญ่ อีกทั้งยังมีแต่ประชุม ทำให้ไม่สามารถลงรายละเอียดในเรื่องการประชาสัมพันธ์

Lect. Proud thinks that PR functions may be delay because the president is always busy from meeting and his many responsibilities.

Leave a comment

Filed under Eng2, Uncategorized

Public Relations ควรอยู่จุดใดในองค์กร

Where is the PR positioning?
เขียนโดยผศ. ดร. พราว
Written by Asst. Prof. Dr. Proud Arunrangsiwed | Oct 4, 2020

**โพสนี้เขียนโดย ผศ. ดร. พราว อรุณรังสีเวช หากพบการละเมิดลิขสิทธิ์ จะทำการแจ้งความและดำเนินคดีให้ถึงที่สุด

Public Relations

โพสนี้อาจารย์พราว จะพูดเกี่ยวกับ การประชาสัมพันธ์ (Public Relations, PR) ว่าควรอยู่จุดใดในองค์กร Where is the Public Relations in an organization? อาจารย์พราวอยากพูดให้ตรงประเด็นคือ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ควรอยู่ที่ใดในผังการจัดองค์กร บางครั้ง อาจารย์พราวจะเรียก Public Relations สั้น ๆ ว่า PR

อาจารย์พราว ดูจากบทบาทของการประชาสัมพันธ์ The Public Relations’ Roles เราทราบกันดีว่า PR is an important tool in management and is one of the needed function in a company. แน่นอน Public Relations เป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งในการบริหารหน่วยงานหนึ่ง ๆ หรือองค์กรหนึ่ง ๆ แล้ว PR ควรอยู่จุดไหนขององค์กร

Public Relations การประชาสัมพันธ์

Where is the PR positioning in an Organization Chart?
Hereunder, Ajarn Proud will make the organizations by PR’s roles. ด้านล่างนี้อาจารย์พราวจัดให้ PR ขึ้นกับใครตามบทบาทของ PR
1. Public Relations report directly to the President.
PR ขึ้นกับประธานบริษัท
2. Public Relations report directly to the Budget and Planning.
PR ขึ้นกับฝ่ายแผนและงบประมาณ
3. Public Relations report directly to the Marketing.
PR ขึ้นกับฝ่ายการตลาด
4. Public Relations report directly to the Personel.
PR ขึ้นกับฝ่ายบุคคล

องค์กรอื่น ๆ สามารถมี PR อยู่ในตำแหน่งผังการจัดองค์กรอื่น ตามความจำเป็น และความเหมาะสม

Leave a comment

Filed under Eng2, Uncategorized

เขียนอ้างอิง APA เป็นภาษาอังกฤษ ง่าย ๆ ลองเขียนดู

เขียนอ้างอิง APA เป็นภาษาอังกฤษ ง่าย ๆ ลองเขียนดู
โพสนี้เขียนโดย พราว อรุณรังสีเวช หากพบการละเมิดลิขสิทธิ์ จะทำการแจ้งความและดำเนินคดีให้ถึงที่สุด
อ้างอิงบทความนี้: พราว อรุณรังสีเวช. (2563). เขียนอ้างอิง APA เป็นภาษาอังกฤษ ง่าย ๆ ลองเขียนดู? สืบค้นจาก https://sw-eden.net/2020/09/17/apa/

นักศึกษาที่เรียนกับอาจารย์พราว อรุณรังสีเวช ลองนึกถึงครั้งที่แล้วที่เราเรียน Online ที่คุณใส่ชื่อภาพยนตร์เรื่องโปรด และระบุว่าภาพยนตร์เรื่องนั้นเป็น Genre อะไร ครั้งนี้ จะสมมติสถานการณ์ว่า คุณต้องเขียนบทความเพื่อไปประชุมวิชาการเกี่ยวกับภาพยนตร์ที่ชอบ หรือ Genre ที่ชอบ และต้องมีอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เราจะอ้างอิงที่ไหนดี

อาจารย์พราว จึงแนะนำ 2 แหล่งที่ถูกกฎหมายแน่นอน คือ http://scholar.google.com และ https://www.tci-thaijo.org/ นักศึกษาสามารถสืบค้นหาบทความจาก 2 เว็บไซต์นี้ โดยทั่วไป ถ้าคุณเจอ อาจารย์ที่สอนวิจัย เขาจะสั่งว่า ห้ามเลือกบทความที่มีอายุเก่าเกิน 5 ถึง 10 ปี แต่สำหรับงานวันนี้ อาจารย์พราวไม่กังวลเรื่องปี

งั้นเรามาฟังโจทย์กันเลย!
1. เราหาบทความวารสารเกี่ยวกับหนังที่ชอบ ที่เขียนตอบไปคราวที่แล้ว หรือ ถ้าหาไม่พบ ก็ให้หาเกี่ยวกับ Genre ที่ชอบ จาก 2 เว็บไซต์ที่ให้ไป เว็บใดก็ได้ ขอ 1 บทความเท่านั้น
2. นำมาเขียนอ้างอิง แบบ APA เป็นภาษาอังกฤษ
3. โพสตอบด้านล่างนี้ และ ให้ Link ของบทความมาด้วย
4. เรื่องตัวเอียง ไม่ต้องกังวลนะคะ แต่รูปแบบอื่น ๆ ขอให้ทำมาให้เป๊ะ
5. ห้ามใช้โปรแกรมแปลภาษา เราจะต้องหาชื่อเรื่องที่เป็นภาษาอังกฤษ ชื่อคนภาษาอังกฤษ และ ชื่อวารสารภาษาอังกฤษด้วยตัวเอง หาให้เจอ มันอาจซ่อนอยู่ในไฟล์ pdf หรือตามมุม ๆ ของหน้าจอ

วิธีการเขียนอ้างอิงแบบ APA ภาษาอังกฤษ

นามสกุลเต็ม ๆ, อักษรแรกของชื่อ. (ปี ค.ศ.). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, เล่มที่(ปีที่), หน้า-หน้า.
ตัวอย่าง 1
ชื่อผู้เขียน คือ Proud Arunrangsiwed
ปีที่เขียนคือ 2019
ชื่อเรื่องที่เขียนคือ The fan culture in Instagram and the ability to take a photo
ชื่อวารสารคือ Journal of Art and Humanities
เล่มที่/ปีที่ Volume/Number คือ 5/2
เลขหน้า คือ 56-62
Arunrangsiwed, P. (2019). The fan culture in Instagram and the ability to take a photo. Journal of Art and Humanities, 5(2), 56-62.

ตัวอย่าง 2
ชื่อผู้เขียน 3 คน คือ Proud Arunrangsiwed, Georgina Rodríguez, Cristiano Ronaldo
ปีที่เขียนคือ 2020
ชื่อเรื่องที่เขียนคือ The Narcissism of Football Players and Family Relationship
ชื่อวารสารคือ International Sport Journal
เล่มที่/ปีที่ Volume/Number คือ 2/3
เลขหน้า คือ 78-86
Arunrangsiwed, P., Rodríguez, G., & Ronaldo, C. (2020). The Narcissism of Football Players and Family Relationship. International Sport Journal, 2(3), 78-86.

ตัวอย่างคำตอบ
สมมติว่า มุธิตา ชอบเรื่อง Harry Potter
ครั้งนี้ มุธิตา จะตอบว่า

Sommai, S., & Padgate, U. (2013). A Conversational Implicature Analysis in J.K. Rowling’s Harry Potter and the Prisoner of Azkaban. Rajabhat Maha Sarakham University Journal, 7(3), 25-38.
Link ของบทความที่หนูสืบค้นมาคือ https://so05.tci-thaijo.org/index.php/rmuj/article/view/19367

32 Comments

Filed under Eng2, Everything_Okay

ช่วยดูที หนังเรื่องนี้ Genre หรือแนวอะไร?

ช่วยดูที หนังเรื่องนี้ Genre หรือแนวอะไร?
โพสนี้เขียนโดย พราว อรุณรังสีเวช หากพบการละเมิดลิขสิทธิ์ จะทำการแจ้งความและดำเนินคดีให้ถึงที่สุด
อ้างอิงบทความนี้: พราว อรุณรังสีเวช. (2563). ช่วยดูที หนังเรื่องนี้ Genre หรือแนวอะไร? มีอะไรบ้าง? สืบค้นจาก https://sw-eden.net/2020/09/17/movie-genre/

ศัพท์เกี่ยวกับ Genre ของภาพยนตร์มีจำนวนมาก และเป็นสิ่งที่นักศึกษาควรเรียนรู้ ถึงแม้คุณอาจไม่ได้อยู่ในสาขาวิชาภาพยนตร์ แต่การรับชมภาพยนตร์ก็เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน อาจารย์พราว อรุณรังสีเวช จึงอยากให้คุณทราบคำศัพท์เหล่านี้ อย่างน้อย คุณก็จะสามารถเรียกหา Genre ที่ตนเองชื่นชอบได้

Genre อ่านออกเสียงว่า ชอนรา หรือ จอนรา มีความหมายว่า ชนิด หรือ แนว เดินที่อาจารย์พราวชอบใช้เรียกแนวเพลง ตอนที่เป็นนักศึกษาปริญญาตรี เป็นคนไม่ค่อยดูหนัง แต่ฟังเพลงเยอะมาก และ Genre ที่ชอบคือ Punk, Pop Rock, Alternative Rock, Emo, Nu Metal, Post-hardcore เป็นต้น แต่เมื่อมาอยู่ในสาขาวิชานิเทศศาสตร์ จึงใช้คำว่า Genre เพื่ออธิบายแนวของภาพยนตร์

ตัวอย่าง Genre เช่น
1. Adventure ผจญภัย
2. Action
3. B-Movie หนังเกรด B ส่วนใหญ่เป็น Slasher แบบที่ อ. พราว ชอบในวัยเด็ก มีฆาตกรต่อเนื่อง อย่าง Michael Myers และ Jason Voorhees และที่ขาดไม่ได้คือต้องมี Final Girl ตอนเด็ก ๆ อ.พราวจะเชียร์ตัวฆาตกร แต่ในปัจจุบัน กลายเป็นมาเชียร์ Final Girl
4. Comedy หนังตลกไง จริง ๆ เป็น Genre ที่สามารถนำมาผสมผสานเข้าไปกับทุก Genre จริง ๆ ตั้งแต่ Adventure, Action, B-Movie, Fantasy, Sci-fi และอีกมากมาย
5. Crime ภาพยนตร์เกี่ยวกับอาชญากรรม ถ้าใน TV Series จะมี Genre นี้จำนวนมาก
6. Documentary สารคดี
7. Drama ดราม่า
8. Fantasy แฟนตาซี เหนือธรรมชาติ อาจารย์พราว มองว่า Superhero เป็น Fantasy ผสม Sci-fi และผสม Action นะ
9. Horror ภาพยนตร์สยองขวัญ มักจะหมายถึง ผี วิญญาณ มากกว่าเรื่องฆาตกรโรคจิต
10. Musical ภาพยนตร์ที่มีเพลงประกอบเป็นหลัก หลายคนน่าจะคิดถึง The Greatest Showman และหนัง Bollywood
11. Political เรียกร้อง ไม่จำเป็นต้องเป็นเรื่องพรรคการเมือง อาจเป็นการเรียกร้องความเท่าเทียมทางเพศ เพศหญิง เพศที่ 3 หรือ เพื่อให้เห็นความสำคัญของเยาวชน อาจารย์พราวอยากให้คิดถึงตัวอย่างใกล้ตัวอย่าง Supergirl TV Series และ X-Men ซึ่งมี Genre นี้ปนอยู่เป็นเนื้อหาหลักของเรื่อง คือ เรียกร้องความเท่าเทียมกัน และความสมานฉันท์ระหว่าง Majority (คนส่วนใหญ่) และ Minority (ผู้ที่ถูกเหยียดหยาม หรือ ชนกลุ่มน้อย หรือ คนที่มีอำนาจน้อยในสังคม)
12. Romance รักโรแมนติก
13. Sci-fi วิทยาศาสตร์
14. Slasher ภาพยนตร์ที่มีการเชือด ฆาตกรโรคจิต ต่อเนื่อง
15. Thriller ระทึกขวัญ
ฯลฯ

คำถามที่จะให้นักศึกษาตอบคือ ให้นักศึกษาคิดถึงภาพยนตร์เรื่องที่ชอบมาก ๆ และต้องเป็นเรื่องที่เคยรับชม 1 เรื่อง เขียนบอกว่า เรื่องนั้นเป็น Genre อะไร ต้องตอบมากกว่า 1 Genre ห้ามลอกเพื่อน ห้ามซ้ำเพื่อน คิดเองได้แน่นอน ถ้าเคยดูมาจริง ๆ

ตัวอย่างคำตอบ
สุวิภา 078 Dunkirk — Genre -> Documentary/Drama
โรนัลโด้ 056 Oblivion (2013) — Genre -> Sci-fi/Drama
ปัญ 048 Happy Death Day 2U — Genre -> Slasher/Thriller/Sci-fi

My Little Pony เป็น แนวหรือ Genre Fantasy

31 Comments

Filed under Eng2, Uncategorized

เมื่อ Ultraman Zero เจอหอยทาก และประกาศจับ Luffy

กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเช็คชื่อว่ามาเรียน Online ขั้นตอนคือ

1.

ให้นักศึกษาแต่งบทพูด ให้ตัวละคร โดยห้ามลอกเพื่อนเด็ดขาด นักศึกษาสามารถใช้โปรแกรมแปลเข้ามาช่วยได้ ควรอ่านทบทวนก่อนโพส หากโปรแกรมแปลผิด

2.

นักศึกษาตามรายชื่อต่อไปนี้ จะโพสเริ่มก่อน โดย โพสคำพูดที่ควรอยู่ในช่อง 1, 2, 3, 4
ตั้งแต่เวลา 12.00 น. ถึง 14.30 น. วันที่ 17 กันยายน 2563

พัณณ์พิชญา
นุชนาฎ
หรรษลักษณ์
ไอริณ
จีระพันธ์
ปนัสยา
อันวา
สุพัตรา
จักรกฤษ
ภานุวัฒน์
กชพร
จิตกรณ์

3.

นักศึกษาคนอื่น ๆ จะกด Reply ที่ใต้โพสของเพื่อนคนใดก็ได้ และต่อบทสนทนาให้จบ ในช่อง 5, 6, 7
ตั้งแต่เวลา 14.30 น. ถึง 16.30 น. วันที่ 17 กันยายน 2563
โดย ถ้าเพื่อนคนใดถูกเลือกไปแล้ว ห้ามเลือกซ้ำนะ

สุวพร
ศศิธร
วัชรพล
ชนะชัย
อาทิมา
นิติกาญจน์
ปัณฑารีย์
จีรนันท์
อินทิรา
สหัสวรรษ
อาทิติยา
ขรรค์ชัย
ภาสกร
อรรถพงษ์
ปรายฟ้า

4.

นักศึกษาที่มีชื่อในข้อ 3. สามารถ reply ต่อจากบทสนทนาที่ อ. โพสเป็นตัวอย่างก็ได้

ultraman Zero luffy one piece

ultraman Zero luffy one piece

35 Comments

Filed under Eng2, Uncategorized