ดูวิดีโอ ประวัติศาสตร์ The Comics Code Authority


82 responses to “ดูวิดีโอ ประวัติศาสตร์ The Comics Code Authority

  1. Gucci Panda

    สรุป
    ปี 1948 Frederic Wertham ซึ่งเป็นนักเขียนและนักการศึกษาได้แสดงความคิดเห็นว่า Comics เป็นอันตรายต่อเยาวชน
    ซึ่งมีคำจำนวนมากเห็นด้วย ปลายปีเดียวกันนั้น นักเรียนคอทอลิคโรงเรียน St.Pratick’s School ได้เผาหนังสือการ์ตูนหลายหมื่นเล่นใน ตัวเมือง New York
    ปี1954 Frederic Wertham เขียนหนังสือชื่อ Sedution of the Innocent ซึ่งเขายืนยันว่า Comies เป็นเหตุให้เยาวชนมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม และได้เกิด The Comices Code Authority รวมรวมกฎข้อบังคับ ทำการ Censor และลงโทษนักเขียน อย่างที่เห็นในบทความ Comic Book legal Defense Fund
    Comics Code ก่อตั้งโดย Comics Magazine Association of America มีกฎดังนี้
    สิ่งที่องค์กรเชื่อว่าจริง
    1.หนังสือการ์ตูนทำให้เด็ก
    2.หนังสือการ์ตูนสร้างบรรยากาศของความโหดร้าย
    3.หนังสือการ์ตูนพร้อมให้ผู้อ่านกระทำสิ่งชั่วร้าย
    4.หนังสือการ์ตูนกระตุ้นให้เกิดจิตนาการทางลบ
    5.หนังสือการ์ตูนชี้แนะให้ก่ออาชญากรรมและความแปลกๆทางเพศ
    6.หนังสือการ์ตูนทำให้เข้าข้างตัวเองมากกว่าสิ่งเร้า
    7.หนังสือการ์ตูนชี้ทางกระทำความผิด
    8.หนังสือการ์๖นทำให้แตกแยกและท้าทายกฎหมาย
    Dialogue
    General Standards Part A
    1.การก่ออาชญากรรมต้องไม่ถูกนำเสนอให้ผู้ชมเห็นใจอาชญกร
    2.ห้ามนำเสนอรายละเอียดและขั้นตอนการก่ออาชญากรรม
    3.ตำรวจ ผู้พิพากษา เจ้าหน้าที่รัฐ และสถาบันไม่ควรถูกดูหมิ่น
    4.หากในหนังสือการมีการก่ออาชญากรรมต้องนำเสนอให้ดูชั่วช้า
    5.ภาพวาดหรือข้อความไม่ควรสวยหรูจนน่าเลียนแบบ
    6.ผู้กระทำผิดต้องโดนลงโทษ
    7.ห้ามไม่ให้มีฉากรุนแรงจนเกินเหตุ
    8.ห้ามแสดงขั้นตอนการใช้อาวุธ
    9.ไม่ควรให้เจ้าหน้าที่รัฐตายในการปฎิบัติหน้าที่
    10.ไม่ควรแสดงประโยขน์ของเงินในการลักพาตัว
    11.คำว่า “อาชญกรรม” บนหน้าปกต้องไม่เด่น
    12. คำว่า “อาชญกรรม” ไม่ควรเป็นชื่อเรื่อง
    General Standards Part B
    1.ชื่อเรื่องไม่ควรมำว่าน่ากลัว
    2.ห้ามไม่ให้มีฉากสยองหรือให้คนอื่นทำร้ายตนเอง
    3.ให้ตัดฉาก ลามก ขวัญผวา สยดสยองออก
    4.ความชั่วร้ายสามารถมีได้แต่ต้องใช้เพื่อสอนจริยธรรม
    5.ห้ามไม่ให้มีฉาก ซอมบี้ ทรมาณ แวมไพร ปอบกินคน มนุษย์กินคน
    General Standards Part c
    1.ห้ามมิให้มีการหมิ่นประมาท อนาจาร ภาพที่ไม่พึงประสงค์
    2.ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ เพื่อหลีกเลี่ยงภาพทุกข์ทรมาณ
    3.ภาษาแสลง ภาษาพูดมีได้แต่ห้ามใช้บ่อย

    RELINGION: ศาสนา
    1.ไม่อนุญาตให้มีการนำศาสนาและชนชาติมาเป็นเรื่องล้อเล่นหรือดูหมิ่น
    Costume: การแต่งการ
    1.ห้ามโป๊ ทำอนาจาร และสัมผัสล่วงเกินเพศ
    2.ห้ามมาท่าทางลามก
    3.ใส่เสื้อผ้าสมเหตุสมผล
    4.ไม่ต่อเติมให้อนาจาร

    MARRIAGE ANDSEX : การแต่งงานและการมีเพศสัมพันธุ์
    1.ไม่ยินดีต่อการหย่า
    2.ห้ามมีเพศสัมพันธุ์ที่ผิดกฎหมาย ผิดมนุษย์
    3.เคารพผู้ปกครอง
    4ความศักดิ์สิทของการแต่งงาน
    5.ไม่ปลุกเร้าอารมณ์
    6.ห้ามยั่วยวนขืนใจ
    7.ห้ามมีเพศสัมพันธ์ด้วยวิธีประหลาด

    สมาชิก รหัสนศ.
    1.251
    2.252
    3.287
    4.288
    5.291

    Like

  2. Gucci Panda

    คำถาม
    1.The​ Comics​ Dode Authority เป็นกฎที่บังคับใช้กับอะไร​

    Like

    • สหัสวรรษ เปลี่ยนทอง

      ควบคุมเนื้อหาภายในcomics
      สหัสวรรษ เปลี่ยนทอง 222

      Like

    • Supahkorn chanoun

      ควบคุมเนื้อหาในcomics
      ศุภกร จันทร์อ้วน 207

      Like

    • ภานุวัฒน์ เพ็งพิทักษ์

      เป็นกฏที่บังคับใช้กับการสร้างเนื้อหาภายใน Comics เพราะในปี 1945 Frederick Wortham ได้เขียนหนังสือ Seducation of the innocent ยืนยันว่า Comics เป็นเหตุทำให้เยาวชนมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม จึงได้ตั้งกฏขึ้นมาเพื่อบังคับ Censor และลงโทษนักเขียน (ภานุวัฒน์ เพ็งพิทักษ์ 234)

      Like

  3. Gucci Panda

    สรุป
    ปี 1948 Frederic Wertham ซึ่งเป็นนักเขียนและนักการศึกษาได้แสดงความคิดเห็นว่า Comics เป็นอันตรายต่อเยาวชน
    ซึ่งมีคำจำนวนมากเห็นด้วย ปลายปีเดียวกันนั้น นักเรียนคอทอลิคโรงเรียน St.Pratick’s School ได้เผาหนังสือการ์ตูนหลายหมื่นเล่นใน ตัวเมือง New York
    ปี1954 Frederic Wertham เขียนหนังสือชื่อ Sedution of the Innocent ซึ่งเขายืนยันว่า Comies เป็นเหตุให้เยาวชนมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม และได้เกิด The Comices Code Authority รวมรวมกฎข้อบังคับ ทำการ Censor และลงโทษนักเขียน อย่างที่เห็นในบทความ Comic Book legal Defense Fund
    Comics Code ก่อตั้งโดย Comics Magazine Association of America มีกฎดังนี้
    สิ่งที่องค์กรเชื่อว่าจริง
    1.หนังสือการ์ตูนทำให้เด็ก
    2.หนังสือการ์ตูนสร้างบรรยากาศของความโหดร้าย
    3.หนังสือการ์ตูนพร้อมให้ผู้อ่านกระทำสิ่งชั่วร้าย
    4.หนังสือการ์ตูนกระตุ้นให้เกิดจิตนาการทางลบ
    5.หนังสือการ์ตูนชี้แนะให้ก่ออาชญากรรมและความแปลกๆทางเพศ
    6.หนังสือการ์ตูนทำให้เข้าข้างตัวเองมากกว่าสิ่งเร้า
    7.หนังสือการ์ตูนชี้ทางกระทำความผิด
    8.หนังสือการ์๖นทำให้แตกแยกและท้าทายกฎหมาย
    Dialogue
    General Standards Part A
    1.การก่ออาชญากรรมต้องไม่ถูกนำเสนอให้ผู้ชมเห็นใจอาชญกร
    2.ห้ามนำเสนอรายละเอียดและขั้นตอนการก่ออาชญากรรม
    3.ตำรวจ ผู้พิพากษา เจ้าหน้าที่รัฐ และสถาบันไม่ควรถูกดูหมิ่น
    4.หากในหนังสือการมีการก่ออาชญากรรมต้องนำเสนอให้ดูชั่วช้า
    5.ภาพวาดหรือข้อความไม่ควรสวยหรูจนน่าเลียนแบบ
    6.ผู้กระทำผิดต้องโดนลงโทษ
    7.ห้ามไม่ให้มีฉากรุนแรงจนเกินเหตุ
    8.ห้ามแสดงขั้นตอนการใช้อาวุธ
    9.ไม่ควรให้เจ้าหน้าที่รัฐตายในการปฎิบัติหน้าที่
    10.ไม่ควรแสดงประโยขน์ของเงินในการลักพาตัว
    11.คำว่า “อาชญกรรม” บนหน้าปกต้องไม่เด่น
    12. คำว่า “อาชญกรรม” ไม่ควรเป็นชื่อเรื่อง
    General Standards Part B
    1.ชื่อเรื่องไม่ควรมำว่าน่ากลัว
    2.ห้ามไม่ให้มีฉากสยองหรือให้คนอื่นทำร้ายตนเอง
    3.ให้ตัดฉาก ลามก ขวัญผวา สยดสยองออก
    4.ความชั่วร้ายสามารถมีได้แต่ต้องใช้เพื่อสอนจริยธรรม
    5.ห้ามไม่ให้มีฉาก ซอมบี้ ทรมาณ แวมไพร ปอบกินคน มนุษย์กินคน
    General Standards Part c
    1.ห้ามมิให้มีการหมิ่นประมาท อนาจาร ภาพที่ไม่พึงประสงค์
    2.ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ เพื่อหลีกเลี่ยงภาพทุกข์ทรมาณ
    3.ภาษาแสลง ภาษาพูดมีได้แต่ห้ามใช้บ่อย

    RELINGION: ศาสนา
    1.ไม่อนุญาตให้มีการนำศาสนาและชนชาติมาเป็นเรื่องล้อเล่นหรือดูหมิ่น
    Costume: การแต่งการ
    1.ห้ามโป๊ ทำอนาจาร และสัมผัสล่วงเกินเพศ
    2.ห้ามมาท่าทางลามก
    3.ใส่เสื้อผ้าสมเหตุสมผล
    4.ไม่ต่อเติมให้อนาจาร

    MARRIAGE ANDSEX : การแต่งงานและการมีเพศสัมพันธุ์
    1.ไม่ยินดีต่อการหย่า
    2.ห้ามมีเพศสัมพันธุ์ที่ผิดกฎหมาย ผิดมนุษย์
    3.เคารพผู้ปกครอง
    4ความศักดิ์สิทของการแต่งงาน
    5.ไม่ปลุกเร้าอารมณ์
    6.ห้ามยั่วยวนขืนใจ
    7.ห้ามมีเพศสัมพันธ์ด้วยวิธีประหลาด

    สมาชิก รหัสนศ.
    1.251
    2.252
    3.287
    4.288
    5.291

    Like

  4. Gucci Panda

    2.General Standards Part B​ข้อที่2 ห้ามมิให้มีฉากสยองเพียงอย่างเดียวใช่หรือไม่​ ถ้าไม่อธิบายพร้อทเหตุผล​

    Like

    • สาธิน ศรีนิล

      st.Patrick’s School
      (สาธิน ศรีนิล 084)

      Like

    • suphakorn

      ห้ามไม่ให้มีฉากสยองและทำร้ายตัวเอง

      Like

    • Suphakorn

      ห้ามมิให้มีฉากสยองและคนอื่นทำร้ายตัวเอง

      Like

    • Supahkorn

      st.Patrick’s School
      ศุภกร จันทร์อ้วน (207)

      Like

    • สหัสวรรษ เปลี่ยนทอง

      ไม่ใช่
      ไม่ได้ห้ามฉากสยองขวัญ เเต่ห้ามขั้นตอนการก่อฆาตกรรม ทุกกรณี
      สหัสวรรษ เปลี่ยนทอง 222

      Like

  5. Gucci Panda

    3.Costume ข้อ1-4 มีโน๊ตข้อบังคับ​ บังคับแค่เนื้อเรื่องจริงหรือไม่​ ถ้าไม่อธิบาย​พร้อมเหตุผล

    Like

  6. Gucci Panda

    4.กฎ​ Comics​ Code​ ทำให้เกิดตัวละครใดขึ้น และเป็นตัวละครแบบใด

    Like

    • พิริยะพงษ์ พละศูนย์

      Bizarro เป็นตัวละครที่กลับด้านกับ superman ทุกด้าน
      (พิริยะพงษ์ พละศูนย์ 003)

      Like

  7. Gucci Panda

    5.ใครกระทำการที่ต่อต้านCommics Code​ และกระทำเรื่องใด

    Like

    • Supahkorn

      Frederic Wertham
      ต่อต้านความรุนแรงของดการ์ตูน
      ศุภกร จันทร์อ้วน (207)

      Like

  8. Gucci Panda

    สรุป
    ปี 1948 Frederic Wertham ซึ่งเป็นนักเขียนและนักการศึกษาได้แสดงความคิดเห็นว่า Comics เป็นอันตรายต่อเยาวชน
    ซึ่งมีคำจำนวนมากเห็นด้วย ปลายปีเดียวกันนั้น นักเรียนคอทอลิคโรงเรียน St.Pratick’s School ได้เผาหนังสือการ์ตูนหลายหมื่นเล่นใน ตัวเมือง New York
    ปี1954 Frederic Wertham เขียนหนังสือชื่อ Sedution of the Innocent ซึ่งเขายืนยันว่า Comies เป็นเหตุให้เยาวชนมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม และได้เกิด The Comices Code Authority รวมรวมกฎข้อบังคับ ทำการ Censor และลงโทษนักเขียน อย่างที่เห็นในบทความ Comic Book legal Defense Fund
    Comics Code ก่อตั้งโดย Comics Magazine Association of America มีกฎดังนี้
    สิ่งที่องค์กรเชื่อว่าจริง
    1.หนังสือการ์ตูนทำให้เด็กไม่รู้หนังสือ
    2.หนังสือการ์ตูนสร้างบรรยากาศของความโหดร้าย
    3.หนังสือการ์ตูนพร้อมให้ผู้อ่านกระทำสิ่งชั่วร้าย
    4.หนังสือการ์ตูนกระตุ้นให้เกิดจิตนาการทางลบ
    5.หนังสือการ์ตูนชี้แนะให้ก่ออาชญากรรมและความแปลกๆทางเพศ
    6.หนังสือการ์ตูนทำให้เข้าข้างตัวเองมากกว่าสิ่งเร้า
    7.หนังสือการ์ตูนชี้ทางกระทำความผิด
    8.หนังสือการ์๖นทำให้แตกแยกและท้าทายกฎหมาย
    Dialogue
    General Standards Part A
    1.การก่ออาชญากรรมต้องไม่ถูกนำเสนอให้ผู้ชมเห็นใจอาชญกร
    2.ห้ามนำเสนอรายละเอียดและขั้นตอนการก่ออาชญากรรม
    3.ตำรวจ ผู้พิพากษา เจ้าหน้าที่รัฐ และสถาบันไม่ควรถูกดูหมิ่น
    4.หากในหนังสือการมีการก่ออาชญากรรมต้องนำเสนอให้ดูชั่วช้า
    5.ภาพวาดหรือข้อความไม่ควรสวยหรูจนน่าเลียนแบบ
    6.ผู้กระทำผิดต้องโดนลงโทษ
    7.ห้ามไม่ให้มีฉากรุนแรงจนเกินเหตุ
    8.ห้ามแสดงขั้นตอนการใช้อาวุธ
    9.ไม่ควรให้เจ้าหน้าที่รัฐตายในการปฎิบัติหน้าที่
    10.ไม่ควรแสดงประโยขน์ของเงินในการลักพาตัว
    11.คำว่า “อาชญกรรม” บนหน้าปกต้องไม่เด่น
    12. คำว่า “อาชญกรรม” ไม่ควรเป็นชื่อเรื่อง
    General Standards Part B
    1.ชื่อเรื่องไม่ควรมำว่าน่ากลัว
    2.ห้ามไม่ให้มีฉากสยองหรือให้คนอื่นทำร้ายตนเอง
    3.ให้ตัดฉาก ลามก ขวัญผวา สยดสยองออก
    4.ความชั่วร้ายสามารถมีได้แต่ต้องใช้เพื่อสอนจริยธรรม
    5.ห้ามไม่ให้มีฉาก ซอมบี้ ทรมาณ แวมไพร ปอบกินคน มนุษย์กินคน
    General Standards Part c
    1.ห้ามมิให้มีการหมิ่นประมาท อนาจาร ภาพที่ไม่พึงประสงค์
    2.ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ เพื่อหลีกเลี่ยงภาพทุกข์ทรมาณ
    3.ภาษาแสลง ภาษาพูดมีได้แต่ห้ามใช้บ่อย

    RELINGION: ศาสนา
    1.ไม่อนุญาตให้มีการนำศาสนาและชนชาติมาเป็นเรื่องล้อเล่นหรือดูหมิ่น
    Costume: การแต่งการ
    1.ห้ามโป๊ ทำอนาจาร และสัมผัสล่วงเกินเพศ
    2.ห้ามมาท่าทางลามก
    3.ใส่เสื้อผ้าสมเหตุสมผล
    4.ไม่ต่อเติมให้อนาจาร

    MARRIAGE ANDSEX : การแต่งงานและการมีเพศสัมพันธุ์
    1.ไม่ยินดีต่อการหย่า
    2.ห้ามมีเพศสัมพันธุ์ที่ผิดกฎหมาย ผิดมนุษย์
    3.เคารพผู้ปกครอง
    4ความศักดิ์สิทของการแต่งงาน
    5.ไม่ปลุกเร้าอารมณ์
    6.ห้ามยั่วยวนขืนใจ
    7.ห้ามมีเพศสัมพันธ์ด้วยวิธีประหลาด

    Like

  9. Sukparat Burabaparsert

    สรุป
    ปี 1948 Frederic Wertham ซึ่งเป็นนักเขียนและนักการศึกษาได้แสดงความคิดเห็นว่า Comics เป็นอันตรายต่อเยาวชน
    ซึ่งมีคำจำนวนมากเห็นด้วย ปลายปีเดียวกันนั้น นักเรียนคอทอลิคโรงเรียน St.Pratick’s School ได้เผาหนังสือการ์ตูนหลายหมื่นเล่นใน ตัวเมือง New York
    ปี1954 Frederic Wertham เขียนหนังสือชื่อ Sedution of the Innocent ซึ่งเขายืนยันว่า Comies เป็นเหตุให้เยาวชนมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม และได้เกิด The Comices Code Authority รวมรวมกฎข้อบังคับ ทำการ Censor และลงโทษนักเขียน อย่างที่เห็นในบทความ Comic Book legal Defense Fund
    Comics Code ก่อตั้งโดย Comics Magazine Association of America มีกฎดังนี้
    สิ่งที่องค์กรเชื่อว่าจริง
    1.หนังสือการ์ตูนทำให้เด็กไม่รู้หนังสือ
    2.หนังสือการ์ตูนสร้างบรรยากาศของความโหดร้าย
    3.หนังสือการ์ตูนพร้อมให้ผู้อ่านกระทำสิ่งชั่วร้าย
    4.หนังสือการ์ตูนกระตุ้นให้เกิดจิตนาการทางลบ
    5.หนังสือการ์ตูนชี้แนะให้ก่ออาชญากรรมและความแปลกๆทางเพศ
    6.หนังสือการ์ตูนทำให้เข้าข้างตัวเองมากกว่าสิ่งเร้า
    7.หนังสือการ์ตูนชี้ทางกระทำความผิด
    8.หนังสือการ์๖นทำให้แตกแยกและท้าทายกฎหมาย
    Dialogue
    General Standards Part A
    1.การก่ออาชญากรรมต้องไม่ถูกนำเสนอให้ผู้ชมเห็นใจอาชญกร
    2.ห้ามนำเสนอรายละเอียดและขั้นตอนการก่ออาชญากรรม
    3.ตำรวจ ผู้พิพากษา เจ้าหน้าที่รัฐ และสถาบันไม่ควรถูกดูหมิ่น
    4.หากในหนังสือการมีการก่ออาชญากรรมต้องนำเสนอให้ดูชั่วช้า
    5.ภาพวาดหรือข้อความไม่ควรสวยหรูจนน่าเลียนแบบ
    6.ผู้กระทำผิดต้องโดนลงโทษ
    7.ห้ามไม่ให้มีฉากรุนแรงจนเกินเหตุ
    8.ห้ามแสดงขั้นตอนการใช้อาวุธ
    9.ไม่ควรให้เจ้าหน้าที่รัฐตายในการปฎิบัติหน้าที่
    10.ไม่ควรแสดงประโยขน์ของเงินในการลักพาตัว
    11.คำว่า “อาชญกรรม” บนหน้าปกต้องไม่เด่น
    12. คำว่า “อาชญกรรม” ไม่ควรเป็นชื่อเรื่อง
    General Standards Part B
    1.ชื่อเรื่องไม่ควรมำว่าน่ากลัว
    2.ห้ามไม่ให้มีฉากสยองหรือให้คนอื่นทำร้ายตนเอง
    3.ให้ตัดฉาก ลามก ขวัญผวา สยดสยองออก
    4.ความชั่วร้ายสามารถมีได้แต่ต้องใช้เพื่อสอนจริยธรรม
    5.ห้ามไม่ให้มีฉาก ซอมบี้ ทรมาณ แวมไพร ปอบกินคน มนุษย์กินคน
    General Standards Part c
    1.ห้ามมิให้มีการหมิ่นประมาท อนาจาร ภาพที่ไม่พึงประสงค์
    2.ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ เพื่อหลีกเลี่ยงภาพทุกข์ทรมาณ
    3.ภาษาแสลง ภาษาพูดมีได้แต่ห้ามใช้บ่อย

    RELINGION: ศาสนา
    1.ไม่อนุญาตให้มีการนำศาสนาและชนชาติมาเป็นเรื่องล้อเล่นหรือดูหมิ่น
    Costume: การแต่งการ
    1.ห้ามโป๊ ทำอนาจาร และสัมผัสล่วงเกินเพศ
    2.ห้ามมาท่าทางลามก
    3.ใส่เสื้อผ้าสมเหตุสมผล
    4.ไม่ต่อเติมให้อนาจาร

    MARRIAGE ANDSEX : การแต่งงานและการมีเพศสัมพันธุ์
    1.ไม่ยินดีต่อการหย่า
    2.ห้ามมีเพศสัมพันธุ์ที่ผิดกฎหมาย ผิดมนุษย์
    3.เคารพผู้ปกครอง
    4ความศักดิ์สิทของการแต่งงาน
    5.ไม่ปลุกเร้าอารมณ์
    6.ห้ามยั่วยวนขืนใจ
    7.ห้ามมีเพศสัมพันธ์ด้วยวิธีประหลาด
    รหัสนศ.​ 251 252 287 288 291
    กลุ่มA วันพฤหัส​ 12.00-14.00น.

    Like

  10. ฐิดาพร​ เอกา​รัมย์

    หัวข้อ​ : ประวัติศาสตร์กฎหมายการ์ตูน (CCA)
    คำถามที่​ 1​ : ในปีไหน1948 ใครเป็นนักเขียน

    Like

  11. ฐิดาพร​ เอกา​รัมย์

    หัวข้อ​ : ประวัติศาสตร์กฎหมายการ์ตูน (CCA)
    คำถามที่​ 2​ : ปลายปีเดียวกันนักเรียนคอทอลิคอยู่ที่รร.อะไร

    Like

  12. ฐิดา​พร​ เอกา​รัมย์​ 018​

    หัวข้อ​ : ประวัติศาสตร์กฎหมายการ์ตูน (CCA)
    คำถามที่​ 3​ : อยู่ที่เมืองอะไรและรัฐอะไร

    Like

  13. สัณหณัฐ เครือแต้

    คำถามที่1
    Superhero ตัวโปรดของคุณคือใคร

    Like

    • อมลาลักษณ์ ธนวิวัฒน์

      ตอบ กัปตันอเมริกา (138)

      Like

    • สหัสวรรษ เปลี่ยนทอง

      Green lantern
      สหัสวรรษ เปลี่ยนทอง 222

      Like

    • Supahkorn

      Spider man 207

      Like

    • Supahkorn

      Spiderman
      ศุภกร จันทร์อ้วน 207

      Like

    • Milk Man Myfriends

      Ironman เพราะ เป็นตัวละครที่มีความอัจฉริยะ และสามารถสร้างสรรค์สิ่งต่างๆได้จากมันสมองของตัวเอง และยึดมั่นในอุดมการณ์ของตัวเองสูง และพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้อื่นที่กำลังมีปัญหา
      (ภูริภัทร เพียปลัด 291)

      Liked by 1 person

    • ภานุวัฒน์ เพ็งพิทักษ์

      The Flash เพราะมีความเร็วที่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างเร็วไวชะงัดนัก ยังมีความฉลาดในด้านของทางวิทยาศาสตร์และฟิสิกส์อีกด้วย (ภานุวัฒน์ เพ็งพิทักษ์ 234)

      Like

  14. ฐิดาพร​ เอกา​รัมย์

    หัวข้อ​ : ประวัติศาสตร์กฎหมายการ์ตูน (CCA)
    คำถามที่​ 4 : ในปี1954 Frederic Werthamได้เขียนหนังสือชื่อว่าอะไร

    Like

  15. ฐิดา​พร​ เอกา​รัมย์​

    หัวข้อ​ : ประวัติศาสตร์กฎหมายการ์ตูน (CCA)
    คำถามที่​ 5 : The Comics Code Authorityก่อตั้งขึ้นโดย

    Like

    • กฤตยา ศรีรักษา

      ตอบ Comics Magazine Association of America
      (กฤตยา ศรีรักษา 050)

      Like

    • สหัสวรรษ เปลี่ยนทอง

      Comics Magazine Association of America
      สหัสวรรษ เปลี่ยนทอง 222

      Like

  16. สัณหณัฐ เครือแต้

    คำถามที่ 2
    Superheroที่คุนชอบมีความเป็นผู้นำมากน้อยขนาดใหน

    Like

    • ภานุวัฒน์ เพ็งพิทักษ์

      กัปตันอเมริกา ด้วยเป็นสัญลักษณ์ของชาติและทหารที่ซึ่งบอกถึงการมีอำนาจการควบคุมจัดการทำงานได้ และกัปตันยังแสดงให้เห็นถึงการเป็นผู้นำในการทำงาน การออกคำสั่งให้คำแนะนำ และเป็นตัวอย่างที่ดี (ภานุวัฒน์ เพ็งพิทักษ์ 234)

      Like

  17. สัณหณัฐ เครือแต้

    คำถามที่ 3
    Superhero ที่คุณชอบมีความเป็นผู้นำอย่างไร

    Like

    • ฐิดา​พร​ เอกา​รัมย์​

      ไอรอนแมน เพราะ​อัจฉริยะ นักคิดนักประดิษฐ์ มีความคิดสร้างสรรค์ ลงมือทำด้วยตนเอง

      Liked by 1 person

  18. สัณหณัฐ เครือแต้

    คำถามที่ 4
    คุณต้องการเลียนเเบบความเป็นผู้นำของsuperhero ที่คุณชอบ ด้านไหนมากน้อยเเค่ไหน

    Like

    • วรางคณา ศิริชัย

      อยากเลียนแบบเรื่องของความกล้าหาญและความอดทน และการมีแนวคิดที่มุ่งมั่นเป็นอย่างมาก
      (วรางคณา ศิริชัย 130 )

      Liked by 1 person

    • ภานุวัฒน์ เพ็งพิทักษ์

      เป็นผู้ที่สามาถออกคำสั่งแนะนำ และประเมินสถานการณ์ได้ไวอย่างกัปตันอเมริกา จากในเรื่อง avengers ในคณะที่เอเลี่ยนได้บุกเข้ามากับลปตันได้สั่งให้คนในทีมไปยังจุดต่างๆเพื่อช่วยเหลือผู้คน หรือทำรายศัตรูตามความสามารถของแต่ละคนได้อย่างฉับไว (ภานุวัฒน์ เพ็งพิทักษ์ 234)

      Like

  19. สัณหณัฐ เครือแต้

    คำถามที่ 5
    ถ้าหากนำSuperhero ที่คุณชอบมาเปลี่ยนเทียบกับคนในสังคมปัจจุบันคนคนนั่นคือใคร

    Like

    • นริศรา ดีสุ่ย

      เปรียบเหมือนแม่เพราะแม่เป็นทั้งผู้นำและตัวอย่างที่ดีให้เรา

      Liked by 1 person

    • ภานุวัฒน์ เพ็งพิทักษ์

      Batman กับ x.xx เพราะมีอำนาจ กับเงินที่สามารถแก้ไขข้อผิดพลาด แม้จะทำผิดกฏหมาย ก็สามารถใช้เงินแก้ปัญหาได้อย่าง easy (ภานุวัฒน์ เพ็งพิทักษ์ 234)

      Like

  20. ฐิดาพร​ เอกา​รัมย์​

    สรุปหัวข้อ​ : ประวัติศาสตร์กฎหมายการ์ตูน (CCA)

    ปี1948 frederic wertham เป็นนักเขียนและนักวิชาการได้เขียนเกี่ยวกับ commics หรือหนังสือการ์ตูนว่าเป็นอันตรายต่อเยาวชน เพราะcommics มีความอันตรายเหมือน pulp magazine ตั้งแต่ก่อนปี1990 และที่เรียก pulp magazine เพราะว่ามันไม่เหมือนmagazineทั่วไป มันต่างกันตรงคุณภาพกระดาษสีและการเขียนเนื้อเรื่องนั่นต่างกว่าmagazine ทั่วไป และเมื่อถึงยุค 1990s มี independent companies หลายแห่งได้ตีพิม commics โดยไม่ได้รับการอนุมัติจาก the comics code ปี2001 marvel comics ก็ประกาศเลิกใช้ the comics code และร่างระเบียบเพื่อใช้ editor ได้ censor นักเขียนตัวเอง ปี2000 ทุกสำนักพิมพ์ไม่ยอมไปขออนุญาต the comics code เหลือแต่ Dc comics บริษัทเดียวที่ใช้ codeจนถึง 2011 ถึงจะเลิกใช้

    Like

    • ฐิดาพร​ ​เอกา​รัมย์

      สมาชิกในกลุ่ม
      นริศรา​ ดีสุ่ย
      62123329008
      ฐิดาพร​ เอกา​รัมย์
      62123329018​
      วรางคณา ศิริชัย
      62123329130
      อมลาลักษณ์​ ธนวิวัฒน์
      62123329138

      Liked by 1 person

  21. สัณหณัฐ เครือแต้

    สรุป
    1.หนังสือการ์ตูน Superhero สามารถชี้นำผู้อ่าน ให้คิดเกี่ยวกับปัญหา และหาทางแก้ไขได้
    2.บางครั้งผู้ปกครองไม่เข้าใจเกี่ยวกับการกระทำของ Superhero
    3.ตัวหนังสือการ์ตูนไม่ใช่ Hero แต่เป็นผู้นำที่ทำให้เราคิดตาม เพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคม
    4.เรารับรู้ความเป็นผู้นำของ Superhero แล้ว แฟนๆจะอยากเลียนแบบความเป็นผู้นำนั้น
    5.จริยธรรมของ Superhero ไม่มีผลกระทบต่อแฟนๆที่อยากเลียนแบบความเป็นผู้นำ
    6.แฟนๆดูที่ความชอบของตัวเองและดูที่ตัว Superhero ตัวนั้นมีความเป็นผู้นำและอยากเป็นผู้นำเหมือนเขา
    7.ไม่ควรใส่ความเป็นผู้นำให้ตัวร้าย เพราะแฟนๆจะได้ไม่เรียนแบบตัวร้าย
    8.ตัวละครที่ไม่ใช่ Superhero อาจควรทดสอบในงานวิจัยในอนาคต เพราะการที่เรารู้สึกว่าเราเหมือนเขาเราอาจเรียนแบบได้ง่ายกว่า
    9.ในประเทศไทย นักเรียนมักจะชอบการ์ตูนญี่ปุ่น แต่คนกลุ่มนี้ไม่สามารถเอาผลไปใช้กับแฟนๆในโลกของ Superhero ได้

    Like

    • สัณหณัฐ เครือแต้

      สมาชิกในกลุ่ม
      สัณหณัฐ เครือแต้ 010
      กฤตยา ศรีรักษา 050
      พรศักดิ์ วิไลวรรณ 053
      สุชาคีย์ ยี่รัมย์ 047
      พิริยะพงษ์ พละศูนย์ 003

      Like

  22. วรางคณา ศิริชัย

    อยากเลียนแบบเรื่องของความกล้าหาญและความอดทน และการมีแนวคิดที่มุ่งมั่นเป็นอย่างมาก
    (วรางคณา ศิริชัย 130 )

    Liked by 1 person

  23. สาธิน ศรีนิล

    คำถามที่ 1 : เฮนรี่ เจนกินส์ ได้กล่าวถึง Fan Fiction ไว้กี่วิธีเเละมีอะไรบ้าง

    Like

    • สัณหณัฐ เครือแต้

      คำตอบ : 10 วิธี มี Recontextualization , Expanding the series timeline , Refocalization , Moral Realignment , Genre Shifting , Cross Overs , Character Dislocation , Personalization , Emotional Intensification , Eroticization
      (สัณหณัฐ เครือแต้ 010)

      Like

    • สหัสวรรษ เปลี่ยนทอง

      มีสิบวิธี คือ 10 Recontextualization , Expanding the series timeline , Refocalization , Moral Realignment , Genre Shifting , Cross Overs , Character Dislocation , Personalization , Emotional Intensification , Eroticization

      Like

  24. สาธิน ศรีนิล

    คำถามที่ 2 : Recontextualization คืออะไร

    Like

    • ฐิดาพร​ เอกา​รัมย์

      คำตอบ : เป็นเหตุการณ์ที่ตัวละครมักกล่าวถึงเหตุการณ์บางอย่างในเรื่องที่อธิบายได้ไม่ดีพอ หรือไม่ได้มีฉากนั้นให้เห็น เเฟนจึงเเต่งฉากเหล่านั้นเพิ่ม

      (ฐิดาพร​ เอกา​รัมย์​ ​62123329018)​

      Like

  25. สาธิน ศรีนิล

    คำถามที่ 3 : ประเภทของ Fan Fiction ที่ เเบ่งตาม Hellekson & Busse มีอะไรบ้าง

    Like

    • อมลาลักษณ์ ธนวิวัฒน์

      คำตอบ : 1. Gen 2. Het 3. Slash
      (อมลาลักษณ์ ธนวิวัฒน์ 138)

      Like

  26. สาธิน ศรีนิล

    คำถามที่ 4 : Stereotype คืออะไร

    Like

    • นริศรา ดีสุ่ย

      คำตอบ : การเหมารวม ดูถูกเเละคาดเดา เพียงเพราะรูปลักษณ์ภายนอก การตัดสินคนอื่นจากรูปลักษณ์ภายนอก เป็นทัศษณะคติเชิง
      (นริศรา ดีสุ่ย 008)

      Like

    • สหัสวรรษ เปลี่ยนทอง

      คือ คตินิยมหรือทัศนคติของสังคมทั่วไป ที่มีต่อผู้คนคนอื่นๆในสังคม จนกลายเป็นมาตรฐาน

      Like

  27. สาธิน ศรีนิล

    คำถามที่ 5 : ประโยชน์ของ Fan Fiction มีอะไรบ้าง

    Like

    • พิริยะพงษ์ พละศูนย์

      Enjoyment สร้างความสนุกเพลิดเพลินไปกับสิ่งที่เรากำลังสนใจอยู่
      Improvement of skill พัฒนาทักษะของตัวเราเอง
      Making Friend พบเจอเพื่อนใหม่ๆ ได้พูดคุยในสิ่งที่กำลังสนใจอยู่ร่วมกัน
      Exhibitionism มีความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
      Maintain Identity ทำให้เรารู้จักตัวเองมากขึ้น พบในสิ่งที่เราถนัด
      (พิริยะพงษ์ พละศูนย์ 003)

      Like

  28. สาธิน ศรีนิล

    สรุป: เฮนรี่ เจนกินส์ ได้กล่าวถึง Fan Fiction มี 10 วิธี มี Recontextualization , Expanding the series timeline , Refocalization , Moral Realignment , Genre Shifting , Cross Overs , Character Dislocation , Personalization , Emotional Intensification , Eroticization
    Recontextualization เป็นเหตุการณ์ที่ตัวละครมักกล่าวถึงเหตุการณ์บางอย่างในเรื่องที่อธิบายได้ไม่ดีพอ หรือไม่ได้มีฉากนั้นให้เห็น เเฟนจึงเเต่งฉากเหล่านั้นเพิ่ม. ประเภทของ Fan Fiction ที่ เเบ่งตาม Hellekson & Busse มี 1. Gen 2. Het 3. Slash
    Stereotype คือ การเหมารวม ดูถูกเเละคาดเดา เพียงเพราะรูปลักษณ์ภายนอก การตัดสินคนอื่นจากรูปลักษณ์ภายนอก เป็นทัศษณะคติเชิง
    ประโยชน์ของ Fan Fiction มี Enjoyment สร้างความสนุกเพลิดเพลินไปกับสิ่งที่เรากำลังสนใจอยู่
    Improvement of skill พัฒนาทักษะของตัวเราเอง
    Making Friend พบเจอเพื่อนใหม่ๆ ได้พูดคุยในสิ่งที่กำลังสนใจอยู่ร่วมกัน
    Exhibitionism มีความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
    Maintain Identity ทำให้เรารู้จักตัวเองมากขึ้น พบในสิ่งที่เราถนัด

    Like

    • นายสาธิน ศรีนิล

      นาย สาธิน ศรีนิล
      62123329084
      นาย ธิติวุฒิ เกิดมา
      62123329123

      Like

  29. นริศรา ดีสุ่ย

    คำตอบ : การเหมารวม ดูถูกเเละคาดเดา เพียงเพราะรูปลักษณ์ภายนอก การตัดสินคนอื่นจากรูปลักษณ์ภายนอก เป็นทัศษณะคติเชิง
    (นริศรา ดีสุ่ย 008)

    Like

Leave a Reply ถาม หรือ แสดงความคิดเห็น

Fill in your details below or click an icon to log in:

WordPress.com Logo

You are commenting using your WordPress.com account. Log Out /  Change )

Facebook photo

You are commenting using your Facebook account. Log Out /  Change )

Connecting to %s

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.