ดูวิดีโอ การ์ตูนทองแดง เด็กนิสัยดีขึ้นจริงหรือไม่?
มีการนำงานวิจัยในเรื่องของคุณทองแดงมาเปรียบเทียบว่า ตัวแปลที่มีผลกระทบต่อสื่อในผู้ชม(หรือเกิดการเรียนแบบตัวละคร) ในการที่จะเรียนแบบคนละครได้นั้นจะต้องเกิดจากการที่ชอบและอินในเรื่องราวของหนังหรือการ์ตูนนั้นๆ แล้วอะไรละที่ทำให้เกิด – อยากที่จะเป็นตัวละครเพราะมีความคิดและทัศนคติที่เหมือนตัวผู้ชมหรืออยากเป็นเพราะบุคลิกท่าทางภายนอกเช่น หน้าตาดี รวย เพื่อนฝูงเยอะ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้จะแบ่งเป็น 4 หัวข้อคือ – ความชอบในหนัง “คุณทองแดง” – ความรู้ที่คนดูได้รับ – ความรู้สึกว่าคนดูเหมือนตัวละคร “คุณทองแดง” – ลักษณะความน่าดึงดูของตัวละคร “คุณทองแดง” จะมีตัวแปรต้นและตัวแปรตาม 4 ตัวคือ 1 ความเป็นสุภาพบุรุษ 2 ความฉลาด 3 ความกล้าหาญ 4 ความกตัญญู ตัวแปรตาม เชื่อในสิ่งที่คุณทองแดงสอนให้คนดูเป็นคนดี ขั้นตอนในการเก็บของมูลวิจัย (จะมีการเก็บข้อมูลจากเด็ก 100 คนโดยมีคำถาม 10 ข้อแบบติ๊กถูก) เช่น ชอบหนังคุณทองแดงไหม ()ชอบ ()เฉย ()ไม่ชอบ ผลของงานวิจัย (ใช้ 97 เคสในการวิเคราะห์ผล) -มีเด็กส่วนมากชอบหนังแล้วอยากที่จะเป็นคุณทองแดง -เด็กส่วนมากอยากเป็นคุณทองแดงเพราะคุณทองแดงน่ารัก *แต่ตัวละครของคุณทองแดงที่เป็นคนดีนั้นตัวของเด็กๆส่วนใหญ่ไม่อยากที่จะเป็น ผลอธิบายงานวิจัย ถ้าเรารู้ว่าเราเป็นเหมือนตัวละคร เราก็จะทำให้ตัวเองนั้นอยากเป็นตัวละครนั้นๆ (เพราะอยากที่จะเรียบแบบ แค่เรารู้ว่าตัวเราเหมือนเราก็จะเป็นแบบเขา) ยังมีผลสนับสนุนอีกว่าการอยากเป็นตัวละคร ทำให้มีผลกระทบตาม มาคือ ทำให้เราสนุกในบทที่อยากเป็นอยากเรียนแบบ และยังทำให้เราอินไปกับเหตุการณ์และคำสอนของเรื่องนั้นๆ (อย่างในนี้คือ การที่ให้เชื่อในคำสอนของคุณทองแดง) ซึ่งความดีในการ์ตูนเรื่องคุณทองแดงนี้ ไม่ได้ทำให้เด็กๆ อยากหรือเชื่อในคำสอน ซึ่งแปลกเกินกว่าที่สันนิษฐานไว้ เพราะเราคิดว่าเด็กจะเห็นคุณทองแดงเป็นตัวอย่างที่ดี ซึ่งมันขัดกับงานวิจัยอีกตัวที่ว่า แฟนๆ มักจะวาดตัวละครที่ดี มากกว่าตัวละครที่ร้าย ข้อเสนอที่ให้ต่อผู้ผลิตสื่อ -ผู้ผลิตสื่อจะต้อง กลยุทธ์ 3 ข้อคือ 1 ต้องทำให้คนดูอินไปกับตัวละครที่ดี 2 ต้องทำให้คนดูเชื่อในคำสอนที่ได้รับจากเรื่อง 3 ต้องทำให้คนดูเรียบแบบพฤติกรรมที่ดีของตัวละครในเรื่อง ข้อจำกัดในงานวิจัย ไม่สามารถที่จะเก็บข้อมูลจากเด็กเล็กๆ ได้ทั้งหมด (แต่ในอนาคตจะต้องทำให้ได้) แบบสอบถามไม่มีความยากและซับซ้อนในคำถามมากนักเพราะผู้ทดสอบยังเป็นเด็กเล็ก นาย ณัฐวุฒิ กิจรัตนี 152 นาย อนุภาพ สำราญอ่อง 156 นาย อิสรภาพ พรมคุณ 157 นาย อาทิตย์ วงษ์พิทักษ์ 174 นาย พีรพัฒน์ บุญถึง 193 กลุ่มเรียน อังคาร 14.00-16.00
LikeLike
1.เพื่อนๆคิดว่าเด็กที่ดูการ์ตูนคุณทองแดงจะชอบคุณทองไหม เพราะอะไร
2.เพื่อนๆได้ข้อคิดอะไรเกี่ยวกับคุณทองแดงและเพื่อนๆจะนำข้อคิดไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
3.ถ้าเพื่อนๆมีสุนัขเหมือนคุณทองแดงเพื่อนๆจะชอบไหมเพราะอะไร
4.การ์ตูนคุณทองแดงเพื่อนๆคิดว่าเขาจะสื่อถึงอะไร เพราะเหตุใด
5.เพื่อนๆคิดว่าควรดูแลสัตว์ที่ถูกทิ้งคล้ายคุณทองแดงไหม เพราะอะไร
Fill in your details below or click an icon to log in:
You are commenting using your WordPress.com account. ( Log Out / Change )
You are commenting using your Facebook account. ( Log Out / Change )
Connecting to %s
Notify me of new comments via email.
Notify me of new posts via email.
Δ
This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.
ไม่อนุญาตให้คัดลอก ทำซ้ำ หรือดัดแปลงบทความ และรูปภาพในเว็บไซต์นี้
All Rights Reserved © 2009-2020 Ratajit © 2007-2020 The Sw Eden (สว อิเฎล) © 2010-2014 Simply Nobody
The Sw Eden's Links
Google Scholar Account
Subscribe by Google, Yahoo, Live
Enter your email address here
Email Address:
Sign me up!
FaceBook
มีการนำงานวิจัยในเรื่องของคุณทองแดงมาเปรียบเทียบว่า ตัวแปลที่มีผลกระทบต่อสื่อในผู้ชม(หรือเกิดการเรียนแบบตัวละคร) ในการที่จะเรียนแบบคนละครได้นั้นจะต้องเกิดจากการที่ชอบและอินในเรื่องราวของหนังหรือการ์ตูนนั้นๆ แล้วอะไรละที่ทำให้เกิด
– อยากที่จะเป็นตัวละครเพราะมีความคิดและทัศนคติที่เหมือนตัวผู้ชมหรืออยากเป็นเพราะบุคลิกท่าทางภายนอกเช่น หน้าตาดี รวย เพื่อนฝูงเยอะ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้จะแบ่งเป็น 4 หัวข้อคือ
– ความชอบในหนัง “คุณทองแดง”
– ความรู้ที่คนดูได้รับ
– ความรู้สึกว่าคนดูเหมือนตัวละคร “คุณทองแดง”
– ลักษณะความน่าดึงดูของตัวละคร “คุณทองแดง”
จะมีตัวแปรต้นและตัวแปรตาม 4 ตัวคือ
1 ความเป็นสุภาพบุรุษ
2 ความฉลาด
3 ความกล้าหาญ
4 ความกตัญญู
ตัวแปรตาม เชื่อในสิ่งที่คุณทองแดงสอนให้คนดูเป็นคนดี
ขั้นตอนในการเก็บของมูลวิจัย
(จะมีการเก็บข้อมูลจากเด็ก 100 คนโดยมีคำถาม 10 ข้อแบบติ๊กถูก)
เช่น
ชอบหนังคุณทองแดงไหม
()ชอบ ()เฉย ()ไม่ชอบ
ผลของงานวิจัย (ใช้ 97 เคสในการวิเคราะห์ผล)
-มีเด็กส่วนมากชอบหนังแล้วอยากที่จะเป็นคุณทองแดง
-เด็กส่วนมากอยากเป็นคุณทองแดงเพราะคุณทองแดงน่ารัก
*แต่ตัวละครของคุณทองแดงที่เป็นคนดีนั้นตัวของเด็กๆส่วนใหญ่ไม่อยากที่จะเป็น
ผลอธิบายงานวิจัย
ถ้าเรารู้ว่าเราเป็นเหมือนตัวละคร เราก็จะทำให้ตัวเองนั้นอยากเป็นตัวละครนั้นๆ (เพราะอยากที่จะเรียบแบบ แค่เรารู้ว่าตัวเราเหมือนเราก็จะเป็นแบบเขา)
ยังมีผลสนับสนุนอีกว่าการอยากเป็นตัวละคร ทำให้มีผลกระทบตาม มาคือ ทำให้เราสนุกในบทที่อยากเป็นอยากเรียนแบบ และยังทำให้เราอินไปกับเหตุการณ์และคำสอนของเรื่องนั้นๆ (อย่างในนี้คือ การที่ให้เชื่อในคำสอนของคุณทองแดง)
ซึ่งความดีในการ์ตูนเรื่องคุณทองแดงนี้ ไม่ได้ทำให้เด็กๆ อยากหรือเชื่อในคำสอน ซึ่งแปลกเกินกว่าที่สันนิษฐานไว้
เพราะเราคิดว่าเด็กจะเห็นคุณทองแดงเป็นตัวอย่างที่ดี ซึ่งมันขัดกับงานวิจัยอีกตัวที่ว่า แฟนๆ มักจะวาดตัวละครที่ดี มากกว่าตัวละครที่ร้าย
ข้อเสนอที่ให้ต่อผู้ผลิตสื่อ
-ผู้ผลิตสื่อจะต้อง กลยุทธ์ 3 ข้อคือ
1 ต้องทำให้คนดูอินไปกับตัวละครที่ดี
2 ต้องทำให้คนดูเชื่อในคำสอนที่ได้รับจากเรื่อง
3 ต้องทำให้คนดูเรียบแบบพฤติกรรมที่ดีของตัวละครในเรื่อง
ข้อจำกัดในงานวิจัย
ไม่สามารถที่จะเก็บข้อมูลจากเด็กเล็กๆ ได้ทั้งหมด (แต่ในอนาคตจะต้องทำให้ได้)
แบบสอบถามไม่มีความยากและซับซ้อนในคำถามมากนักเพราะผู้ทดสอบยังเป็นเด็กเล็ก
นาย ณัฐวุฒิ กิจรัตนี 152
นาย อนุภาพ สำราญอ่อง 156
นาย อิสรภาพ พรมคุณ 157
นาย อาทิตย์ วงษ์พิทักษ์ 174
นาย พีรพัฒน์ บุญถึง 193
กลุ่มเรียน อังคาร 14.00-16.00
LikeLike
1.เพื่อนๆคิดว่าเด็กที่ดูการ์ตูนคุณทองแดงจะชอบคุณทองไหม เพราะอะไร
LikeLike
2.เพื่อนๆได้ข้อคิดอะไรเกี่ยวกับคุณทองแดงและเพื่อนๆจะนำข้อคิดไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
LikeLike
3.ถ้าเพื่อนๆมีสุนัขเหมือนคุณทองแดงเพื่อนๆจะชอบไหมเพราะอะไร
LikeLike
4.การ์ตูนคุณทองแดงเพื่อนๆคิดว่าเขาจะสื่อถึงอะไร เพราะเหตุใด
LikeLike
5.เพื่อนๆคิดว่าควรดูแลสัตว์ที่ถูกทิ้งคล้ายคุณทองแดงไหม เพราะอะไร
LikeLike