Tag Archives: nature

หลังจากท่องเที่ยวน้ำตกทีลอซู จังหวัดตาก

การเล่าเรื่องครั้งนี้ให้เพื่อน ๆ อ่านกันเล่น รตจิตรไม่ได้เน้นการท่องเที่ยวที่น้ำตกทีลอซู เพราะตาม website มีมากแล้วจริง ๆ อีกทั้งบริษัททัวร์แต่ละแห่งก็ให้ข้อมูลคล้าย ๆ กัน และหาข้อมูลจากททท. ได้ง่าย ๆ เช่นกันนะจ๊ะ

รตจิตรจะเน้นเรื่องการใช้จ่ายเงินเพราะการเดินทางไปทริปนี้ รตจิตรมีวัตถุประสงค์ต้องการใช้เงิน..ใช้เงิน…และใช้เงิน ไม่ใช่อวดรวย แต่อยากให้เงินถึงมือชาวบ้าน เป็นการผันเงิน ไม่ใช้ฟอกเงินนะคะ ต้องการซื้อผลิตภัณฑ์จากจังหวัด ต้องการซื้อสินค้า O-TOP เพราะคิดว่ายิ่งรตจิตรหรือโดยเฉพาะอย่างยิ่งคนไทยทุกคนช่วยกันอุดหนุนชาวบ้าน จะก่อให้เกิดประโยชน์ระยะยาว

คำว่าสินค้า O-TOP ความจริงมีมานานแล้วไม่ใช่มีสมัยใครคนนึงเป็นนายก แต่แค่มาใช้ชื่อตามประเทศญี่ปุ่น “สินค้า 1 ตำบล 1 ผลิตภัณฑ์” หลังจากใช้งบประมาณแผ่นดินไปเที่ยวประเทศนี้มานั่นเอง ไม่ได้เป็นแนวคิดอะไรที่ใหม่ขึ้นมา ที่สำคัญคือการโปรโมทให้คนไทยและต่างชาติซื้อต่างหาก

ตอนนี้รตจิตรอยากให้เห็นถึงประโยชน์ที่ไปเที่ยวจังหวัดตาก – น้ำตกทีลอซูครั้งนี้ค่ะ
– ชาวบ้านจะได้ไม่ต้องขายผ่านตัวกลาง ที่ตัดราคาแหลกลาน
– ชาวบ้านจะได้มีกำลังใจที่จะทำมาหากินต่อไป จนสามารถพึ่งพาตนเองได้ และใช้ชีวิตอย่างพอเพียงตามพระราชดำรัสของในหลวงผู้ทรงเป็นที่รักของปวงชนชาวไทย
– พวกเขาจะได้ไม่ต้องมีหนี้สินนอกระบบ เพราะสามารถหาเลี้ยงตนเองและครอบครัวได้ ช่วยได้ทั้งตัวชาวบ้านเอง และช่วยให้คุณกรณ์ จากติกวณิช – มีเวลาไปบริหารการเงินของประเทศไทยได้ดียิ่ง ๆ ขึ้น
– ต้องการซื้อของจริง ๆ ต้องการสัมผัสชีวิตชาวบ้าน ต้องการอุดหนุนผลงานที่พวกเขาทำได้ ต้องการให้ชาวบ้านภาคภูมิใจ จนทำให้ครอบครัวพวกเขาช่วยกันทำมาหากิน ได้อยู่ร่วมกัน ทำงานด้วยกัน อย่างอบอุ่นอละมีความสุขจ๊ะ
– ได้สัมผัสการนั่งรถตู้ผ่านทางโค้งไป-กลับถึง 1,219 X 2 = 2,538 โค้งแล้ว
– สุดท้ายเชื่อเลยค่ะ เงินจากกระเป๋าสตังค์เพียงเล็ก ๆ 1 ใบ สามารถแตกเป็นถุงใบใหญ่ ๆ ได้หลายใบ เดี๋ยวจะเจียรไนให้ฟัง เผี่อเป็นประสบการณ์ในการจับจ่ายใช้สอยของเพื่อน ๆ ค่ะ

รตจิตรยอมรับว่าต้องใช้ โชเฟอร์ที่มีประสบการณ์จริง ๆ อย่างไรก็ตามขาลง/ขากลับ รตจิตรก็กลัว และนอนไม่ได้ ทั้ง ๆ ที่เพลียมากเพราะความชำนาญของคนขับจนอาจทำให้ประมาท ชะล่าใจและเร่งเร็วเกินไปจนหวาดเสียว โชคดีที่ไม่เป็นอย่างคนไทย 25-27 คนที่เสียชีวิตที่มาเลเซีย รตจิตรขอร่วมแสดงความเสียใจด้วยอย่างจริงใจ

ตอนนี้มาเข้าเรื่องว่ารตจิตรใช้จ่ายอะไรไปบ้างดีกว่าแค่ไปเที่ยวตาก 3-4 วันเอง ขากลับก็ทยอยใช้จ่ายดังต่อไปนี้

1. ตาก ช่วยซื้อเสื้อจากเด็กนักเรียนโรงเรียนอุ้มผาง 250 บาท
2. ตาก ช่วยค่าเรียนหนังสือเด็กนักเรียนโรงเรียนอุ้มผาง 100 บาท
3. ตาก ที่บ้านครูซัน ซื้อของชำร่วยและปิ่นปักผม ซื้อน้อยเพราะแพงค่ะ 45 บาท
4. ตาก พอดีมีงานเลยเล่นเกมและซื้อของฝากจากชาวบ้าน 180 บาท
ตาก ตอนลงจากทีลอซู มีของฝากเพียบเช่นเสื้อผู้พิชิต 1219 โค้ง ถั่วแปรอ ปีเย อร๋อยอร่อย และน้ำส้ม ฯลฯ
200 บาท
5. ตาก เช่าพระนเรศวรมาเคารพค่ะ 300 บาท
6. ตาก ตลาดมูเซอ เป็นตลาดที่จ่ายมากสุดเพราทุกอย่างถูกกว่ากรุงเทพ เกิน 50% ทั้งผักยอดฟักแม้ว ผักกาดพริกขี้หนูที่กระเหรี่ยงปลูก หมูหวาน เห็ด 3 อย่าง สุดยอดความอร่อยคือพุทราแอ็ปเปิ้ล รตจิตรขอแนะนำให้ซื้อมา
เท่าที่จะแบกไหว เพราะกิโลละ 30 บาท แต่กรุงเทพขาย 80 บาทเชียวล่ะ รวม 550 บาท
7. กำแพงเพชร ที่ตลาดนครชุม อำเภอเมือง ซื้อขนมฉาบอบเนย 100 บาท
8. กำแพงเพชร เฉาก๊วยชากังราว รตจิตรว่าเหนียวไปค่ะเลยซื้อกินไม่ซื้อกลับ 40 บาท
9. กำแพงเพชร ตลาดริมเมย ตรงข้ามเป็นพม่าจ๊ะ ซื้อเห็ดหอม เม็ดมะม่วงหิมพานต์ 650 บาท
10. นครสวรรค์ แวะตลาดนครสวรรค์และตลาดปากน้ำโพซื้อขนมโมจิ+เต้าซา 250 บาท
11. สิงห์บุรี อ่างทอง อยุธยา ไม่ได้แวะซื้ออะไรเลยค่ะ เพราะจะหลับอยู่แล้ว
12. ปทุมธานี แวะ Outlet ของ F&N ซื้อกระเป๋าราคาโรงงาน 2 ใบ 1000 บาท
13. Tip ให้ทั้ง Guide และคนขับ คนละ 200 บาท รวม 400 บาท

รตจิตรอาจสรุปตกหล่นไปอีกเพียบเพราะจำไม่ค่อยได้แล้ว 5555 แต่ก็มีความสุขทั้งได้เที่ยว และได้ใช้เงินให้ถึงมือชายบ้าน ชาวสวน ชาวไร่จริง ๆ

1 Comment

Filed under Everything_Okay

3 lives help 3 places

Thailand is a tropical country which is rich with culture and natural environment. There are many kinds of forests in Thailand and many groups of people who live in them. Some of Thai cultures help to keep the forest environments. There are 3 groups of people who are not so well-known. They live in 3 different forests, and their life routines and their traditions do not hurt the forest and also keep it more plentiful. They are the tribesmen who live in the mountains, the houseboat families who live in mangrove forest and the people who live in deciduous forest.

The tribesmen’s beliefs help to keep the tropical forest on the mountains in the north of Thailand pure. These people believe in ghosts, and those ghosts live in the trees, so they have to protect the trees. They do not cut the big trees because they believe that the big ghosts live in them. Moreover, all children who are already 5 years old will grow the trees because each of them has to have a ghost to looking after, for their whole life. There are only two reasons that these tribesmen can cut the trees. The first reason is when they need new houses for their marriages. The second reason is when they need the area for their farms. For this second reason, they will cut only the small trees which are younger than ten years old. In my opinion, this is very interesting, that their belief which most people think that are stupid, can protect the forest much more wiser than people with education.

When I went to the west of Thailand with my high school friends, I met another community who grew the trees in deciduous forests correctly. Their lives was more modern than the tribemen. In fact, this has been a project of the Thai King since many decades ago. He began to inspire and give the growing tree methods to these people after Thailand lost more than half of its trees in this forest to Myanmar. Before this project began, many Thai people who wanted to grow the big trees in this forest would cut all grasses and small trees down, then, they put the seeds of big trees in. The seeds of the big trees cannot grow without other small trees, which grow more quickly at first and protect the big trees from the sun and animals. The group of people I met did not take anything from the land. They knew that the nature had its own way to bear again. What they can do was help the nature’s development to be faster. I did not just see their activities; I also visited some tunnels on the mountains. I had a hard time to get to those tunnels. I had to climb a wet mountain all along the way. There were no stairs there, and this was the only place in Thailand which did not have stairs for the visitors. It means they really kept the nature purely. I found many strange and colorful insects and they were not afraid of me. That was because no one disturbed them. In the tunnel, the water dropped from the top stones. All I saw, were the ways that people in this forest kept their homes naturally.

I also visit the mangrove forest every year and once, I found a group of house-boat families who were very harmonious with the mangrove forest environment. I was very excited the first time I saw their boat-houses, because I had seen people in other mangrove forests cut the trees and make houses on the land. I think that they did clever things because the level of the water always changed in the afternoon and at night. I saw the ways they found their food, and it was very intelligent. They made a big room with bamboo under the sea and its door faced to the direction of water. When there were many fish in that room, they would close it and take only the fish they could eat. The small fish and the other useless animal would be released back into the sea. They also got sea mussels by hanging a piece of rope down into the sea and the sea mussels would attach to it by themselves. These ways to find food were much more intelligent than other fishermen who use electricity and nets. Electricity can kill every animal around that area, and most of them cannot be consumed. Nets catch all sizes of the fish, and small fish get caught although no one wants to eat them. This is why I really like the boat-house living. Their perfect life does not hurt any the life cycle in the sea.

In conclusion, all these three groups of people who live with nature can adapt themselves to it, although most people in the world take the natural resources for themselves and waste them very fast. All people who have good knowledge and are destroying the world should be ashamed, at least if they see these three groups of common folks.

Light through leaves

Leave a comment

Filed under Uncategorized